Skip to content
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Secondary Navigation Menu
Menu
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติคณะ
    • ปณิธาน
    • วิสัยทัศน์
    • พันธกิจ
    • บุคลากร
      • ผู้บริหาร
      • คณะกรรมการวิชาการคณะฯ
      • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
      • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ
      • สาขาวิชาวิทยาการคำนวณและเทคโนโลยีดิจิทัล
      • สำนักงานเลขานุการคณะฯ
  • หลักสูตร
    • วท.บ.วิทยาการคอมพิวเตอร์
    • วท.บ. สาขาวิชาปัญญาประดิษฐ์
    • วท.บ.จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม
    • วท.บ.วิทยาศาสตร์การแพทย์
    • วท.บ.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
  • การเรียนการสอน
    • รายวิชาที่อำนวยการสอนโดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (มคอ.)
      • มคอ. ปีการศึกษา 2563
      • มคอ. ปีการศึกษา 2562
  • การวิจัย
  • บริการวิชาการ
  • กิจการนักศึกษา
  • ติดต่อเรา

บุคลากร » สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

On: สิงหาคม 27, 2019
กลุ่มวิชากายวิภาคศาสตร์
กลุ่มวิชาจุลชีววิทยา
กลุ่มวิชาชีววิทยา
กลุ่มวิชาสรีรวิทยา
เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
กลุ่มวิชากายวิภาคศาสตร์

  • รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร ฉางทรัพย์
    อาจารย์ประจำ
    รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร ฉางทรัพย์
  • อาจารย์ ภาสินี สงวนสิทธิ์
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์ ภาสินี สงวนสิทธิ์
  • อาจารย์อมรรัตน์ โตทองหล่อ
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์อมรรัตน์ โตทองหล่อ
  • อาจารย์ระพีพันธุ์ ศิริเดช
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์ระพีพันธุ์ ศิริเดช
รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร ฉางทรัพย์

รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร ฉางทรัพย์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ด.(การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
– วท.ม.(วิทยาศาสตร์การแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผลงานวิชาการ :
100%

1. อดิศักดิ์ วงศ์ษา บังอร ฉางทรัพย์ และ พรพิมล กาญจนวาศ. ผลของเจลาตินเกล็ดปลาสลิดต่อเปลือกมะนาวในการผลิตเยลลี่ต้านอนุมูลอิสระ. ว. วิทย์. กษ. 50(2)(พิเศษ): 297-300 (กันยายน-ธันวาคม 2562)

2. บังอร ฉางทรัพย์ สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ เกษม พลายแก้ว ภาสินี สงวนสิทธิ์ และระพีพันธุ์ ศิริเดช. (พฤษภาคม สิงหาคม 2562). ความชุกของพยาธิเข็มหมุดในเด็กก่อนวัยเรียนและวัยประถมศึกษาตอนต้นในอาเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย . วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 49 (2) :

3. บังอร ฉางทรัพย์ สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล และ จิตรบรรจง ตั้งปอง . การสำรวจการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดในเด็กกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องในชุมชนคลองเตย กรุงเทพมหานคร และการเปรียบเทียบกับการศึกษาในอดีต. วารสารวิชาการสาธารณสุข. กันยายน-ตุลาคม 2560 ; 26(5) : 829-837

4. ธนัมพร มงคลมหัทธนะ นันท์นภัส กันทะวงศ์ อภิวัฒน์ หนูแก่นเพ็ชร และ บังอร ฉางทรัพย์. การตรวจหาเชื้อ Staphylococcus aureus ที่ปนเปื้อนในเนื้อหมูดิบ ในตลาดสดบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบันครั้งที่ 6 (ASTC 2018) วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

5. กรรฐ์ณัฏฐ์ มงคลจรัสชัย, ครินทร์ ชูสกุล, มณีนุช เทียนสว่าง, ศิวนันท์ กำยาน และบังอร ฉางทรัพย์. การติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดในเด็ก อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ. ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ม.ค.- มิ.ย.-60.

6. บังอร ฉางทรัพย์, สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ, ภาสินี สงวนสิทธิ์ และอมรรัตน์ โตทองหล่อ. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องระหว่างนักศึกษาที่เรียนโดยวิธีการประยุกต์ใช้เทคนิคเอไอซีและวิธีเรียนแบบปกติ. วารสาร มฉก.วิชาการปี 2560 เล่มที่ 20 ฉบับที่ 40.

อาจารย์ ภาสินี สงวนสิทธิ์

อาจารย์ ภาสินี สงวนสิทธิ์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม.(วิทยาศาสตร์การแพทย์:กายวิภาคศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(กายภาพบำบัด) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานวิชาการ :
100%

1. ภาสินี สงวนสิทธิ์, เกษกนกวรรณ เกสรจรุง, วราภรณ์ ตาแสง, กานดา แน่นหนา และ อภิษฏา นุ้ยเมือง. การศึกษาลักษณะทางจุลกายวิภาคของหลอดเลือด vertebral จากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 925 931

2. อัสมา ตุกังหัน กรรณิการ์ ทิพสมบัติ ภาสินี สงวนสิทธิ์. การศึกษา anterior olfactory nucleus (AON) จากร่างอาจารย์ใหญ่ที่รักษาสภาพด้วยการดองด้วยเทคนิคการย้อม Hematoxilin & Eosin. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

3. ณัฐวดี พระสว่าง ชนิตา สราญชื่น ภาสินี สงวนสิทธิ์. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ำมันถั่วลิสงและไซลีนในการเป็น clearing agent โดยศึกษาในเนื้อเยื่อพื้นฐานจากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

4. นาตาชา ชื่นหทัย, บุณยนุช บุญถึง, ภัณฑิรา บังคม และภาสินี สงวนสิทธิ์. การศึกษาลักษณะทางเนื้อเยื่อวิทยาของกล้ามเนื้อจากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

5. จตุพงศ์ ปิ่นแก้ว, มุกดา ฝายเกษม สุภนิช ศรีทัวนอก และภาสินี สงวนสิทธิ์. การศึกษาเชิงเปรียบเทียบลักษณะเนื้อเยื่อของไขสันหลังจากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

อาจารย์อมรรัตน์ โตทองหล่อ

อาจารย์อมรรัตน์ โตทองหล่อ

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ. (กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการ :
%

อาจารย์ระพีพันธุ์ ศิริเดช

อาจารย์ระพีพันธุ์ ศิริเดช

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
– วท.บ.(วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผลงานวิชาการ :
100%

1. ระพีพันธุ์ ศิริเดช, วัลวิภา เสืออุดม, กฤตญาวีร์ มากนุ้ย, กาญจนาวดี บุญกระจาย, รุ่งทิวา จิระเกษมนุกูล และ วรรณภา ฉัตรกระโทก. การศึกษาลักษณะทางพยาธิสภาพและความหนาของผนังหลอดเลือด common carotid, brachial และ femoral จากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 917-924

2. อาภาภัทร โชคดีพงศ์ ศิรินภา ฐานมั่น อารีวรรณ พันศร ระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาปรสิตที่พบในปลานิล อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

3. ณัฐสิมา เชยมาน สุพัตรา แก้ววงษ์ ระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาพยาธิในหอยเชอรี่จากบ่อเลี้ยงปลานิล ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย .รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

4. ระพีพันธุ์ ศิริเดช และ วัลวิภา เสืออุดม ฤทธิ์ทางชีวภาพของหมามุ้ย วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 102-109

5. เกศอนงค์ ฉัตรงามวิจิตร และระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาการปนเปื้อนของพยาธิและแบคทีเรียจากกุ้งฝอย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

6. จิระประภา เอียดแก้ว, อโรชา สุรินทร์ศักดิ์ และระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาพยาธิในหอยน้ำจืดที่เป็นอาหารของคนในอำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ประเทศไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

กลุ่มวิชาจุลชีววิทยา

  • อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียน
    คณบดี
    อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียน
  • ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล
    หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
    ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล
  • อาจารย์วรพรรณี เผ่าทองศุข
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์วรพรรณี เผ่าทองศุข
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ
    อาจารย์ประจำ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล กาญจนวาศ
    อาจารย์ประจำ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล กาญจนวาศ
  • อาจารย์สุรีย์พร เอี่ยมศรี
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์สุรีย์พร เอี่ยมศรี
  • อาจารย์ ดร.ชวนพิศ จิระพงษ์
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์ ดร.ชวนพิศ จิระพงษ์
  • อาจารย์อลิษา สุนทรวัฒน์
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์อลิษา สุนทรวัฒน์
  • อาจารย์ ดร.รุจิราลัย พูลทวี
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์ ดร.รุจิราลัย พูลทวี
อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียน

อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียน

คณบดี

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ด.(จุลชีววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.ม.(จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(จุลชีววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ผลงานวิชาการ :
100%

1. จำรูญศรี พุ่มเทียน, ปิยาภรณ์ สุภัคดารงกุล, เกษม พลายแก้ว, ยิ่งเจริญ คูสกุลรัตน์, สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ, อุมา รัตนเทพี และ ศิริวรรณ ตันตะวาณิชย์. การสารวจคุณภาพผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียว บางบ่อ สู่การขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการรับใช้สังคม ครั้งที่ 7 วันที่ 12 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หน้า 1219 1228

2. ศรภกรฉัตร ปิ่นทอง, สกุลกานต์ ทิพย์โอสถ, สมฤทัย มากเฟื้อง, จารูญศรี พุ่มเทียน, รุจิราลัย พูลทวี. โยเกิร์ตมะม่วงน้าดอกไม้เสริมไข่มุกมะม่วงโพรไบโอติก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 1626 1636

3. อุไรวรรณ คำเกลี้ยง อัมพา ขุนจัตุรัส หทัยรัตน์ บัณฑิตพิบูล จำรูญศรี พุ่มเทียน. ฟิล์มชีวภาพจากกสารสกัดกระเทียมและสารลดแรงตึง ผิวชีวภาพเพื่อต้านเชื้อราบนผิวมะม่วงน้ำดอกไม้. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 4 No 1 (2018)

4. นัทกาน ศรัทธานุ และ จำรูญศรี พุ่มเทียน การยับยั้งเชื้อราจากอากาศโดยการใช้สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสารลดแรงตึงผิวชีวภาพ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 18-28

5. Tidarat Somruang, Jamroonsri Poomtien, Jiraporn Thaniyavarn. Optimization of Biosurfactant Production from Candida mucifera NJP25. The 28th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and International Conference. 28-30 November 2016

6. สุภาณัฐ ชงัดเวช, อริสา สุดใจ, สุวรรณา เสมศรี และจำรูญศรี พุ่มเทียน. แหล่งคาร์บอนและไนโตรเจนที่เหมาะสมในการ ผลิตเอกโซพอลิแซคคาไรด์จากยีสต์และการทดสอบคุณสมบัติเอกโซพอลิแซคคาไรด์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร..

ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล

ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล

หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด.(เภสัชศาสตร์ชีวภาพ) มหาวิทยาลัยมหิดล
– วท.บ.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานวิชาการ :
100%

1. สิริรัตน์ จินดา, อังคณา มุละชีวะ, จิราวรรณ รอดทอง, เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์, และ ปิยาภรณ์ สุภัคดารงกุล. การศึกษาประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียที่ปนเปื้อนน้ามันในระบบเยื่อกรองชีวภาพและการพัฒนาชีวภัณฑ์จาก Pseudomonas sp. GS-3 รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย รังสิต หน้า 8 14

2. ปิยาภรณ์ สุภัคดารงกุล, จารูญศรี พุ่มเทียน, ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์, สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา, เกษม พลายแก้ว,อลิศรา พรายแก้ว, สุวรรณา จารุนุช, วิรัตน์ ทองรอด, ณัฏฐวี ชั่งชัย, ปรีชา สมานมิตร และ รังสรรค์ วงษ์บุญหนัก. การศึกษาความเป็นไปได้ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติในการเป็นหน่วยงานรับรองมาตรฐานคุณภาพอาหารปลาสลิดแดดเดียว บางบ่อ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการรับใช้สังคม ครั้งที่ 7 วันที่ 12 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หน้า 1229 1245

3. นภาทิพย์ ปรางทอง สุภาพร บุญสาน ตริตาภรณ์ กาญจนากร สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา และ ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล การผลิตไบโอดีเซลโดยปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันโดยใช้เอนไซม์อิสระและเอนไซม์ตรึงรูป Biodiesel. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 4 No 1 (2018)

4. จันทร์เพ็ญ วิวัฒน์ ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล ประสิทธิภาพที่สูงของการผลิต protoplasts และการงอกกลับใหม่จาก hyphal bodies ของเชื้อราที่ใช้ในการควบคุมศัตรูพืช Nomuraea rileyi สายพันธุ์ MJ . วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) p7-17

5. ณัฐกานต์ ทำทัน, กนกวรรณ สลุงอยู่, เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์ และ ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล. การศึกษาการใช้แบคทีเรียเชื้อผสมในการย่อยสลายน้ำมันและน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมัน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

6. เกศกนก บุตดี, ศิริพร ยมรัตน์, สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา และปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล. การผลิตไบโอดีเซลโดยปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันโดยใช้เอนไซม์อิสระ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

อาจารย์วรพรรณี เผ่าทองศุข

อาจารย์วรพรรณี เผ่าทองศุข

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม.(จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยบูรพา

ผลงานวิชาการ :
100%

1. อุทัยวรรณ ก๋งเม่ง, วรพรรณี เผ่าทองศุข, ศรมน สุทิน, อรภา ศิลมัฐ. ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดสมุนไพรจีน ต่อเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคผิวหนัง. การประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 12 “Global Goals, Local Actions: Looking Back and Moving Forward 2021”. เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. หน้า 690-700.

2. Punnidtha Bupphatanara, Worrapannee Powtongsook, Chawalinee Asawahame, Paveena Wongtrakul. (2020). Application of Plant Extracts as a Preservative in an Aqueous Gel Formulation. Key Engineering Materials, Vol. 859, pp 172-180.

3. ดรุณรัตน์ สบายใจ อำพร บุญเอก ศรมน สุทิน อรภา ศิลมัฐ รุ่งรัตน์ นิลธเสน วรพรรณี เผ่าทองศุข. ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านการเกิดไบโอฟิล์มของสารสกัด สมุนไพรจีนต่อเชื้อในช่องปาก วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ออนไลน์) ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 ม.ค.- มิ.ย. 63 pp 33-44

4. ภิมธิดา ศรีจรูญ และ วรพรรณี เผ่าทองศุข. การศึกษาประสิทธิภาพการต้านเชื้อจุลินทรีย์ของผ้าที่มีส่วนประกอบของนาโนซิงค์ออกไซด์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 909-916

5. ดรุณรัตน์ สบายใจ อำพร บุญเอก ศรมน สุทิน อรภา ศิลมัฐ, วรพรรณี เผ่าทองศุข, ศรมน สุทิน และ รุ่งรัตน์ นิลธเสน. ฤทธิ์การต้านแบคทีเรีย ต้านการเกิดไบโอฟิล์ม และต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจินอิ๋นฮวาต่อเชื้อในช่องปาก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 983-990

6. จริยา ศรีพนมพงษ์ ฤทัยลักษณ์ ชลวิริยะ ศรมน สุทิน วรพรรณี เผาทองศุข รุ่งรัตน์ นิลธเสน. การศึกษาเอกลักษณ์และความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดหยาบจากพืชตัวอย่างที่มีสีม่วง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

7. เกษรา เพชรสง ณัฐนันท ทรัพยวัฒนไพศาล วรพรรณี เผ่าทองศุข รุ่งรัตน์ นิลธเสน.การศึกษาผลของน้ำยาบวนปากตอการยับยั้งแบคทีเรียที่แยกไดจากน้ำลาย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

8. ธิติมา พลายบัว จุฑามาศ สิทธิศิริ สุทัดตา เกษมจิตมั่น ศรมน สุทิน อรภา ศิลมัฐ และวรพรรณี เผ่าทองศุข การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพรจีนที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในระบบทางเดินอาหาร รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561. ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

9. วรพรรณี เผ่าทองศุข และจำรูญศรี พุ่มเทียน. ผลการใช้โอโซนร่วมกับความร้อนในการกำจัดเชื้อ Salmonella Typhimurium, Escherichia coli และ Saccharomyces cerevisiae ในน้ำตาลสด น้ำลำไย และน้ำมะพร้าว. มฉก.วิชาการ. ปีที่ 20 ฉบับที่ 39 (กรกฏาคม – ธันวาคม 2559).

10. กัญญาภัทร สูงกลาง, ศิริธร วงศ์ชาลี, วรพรรณี เผ่าทองศุข และ รุ่งรัตน์ นิลธเสน. การศึกษาความไวต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อ Salmonella spp. และ non–Salmonella ที่แยกได้จากไข่และเปลือกไข่ไก่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

11. กฤษณา เล็กยวง, สุทธิดา เนื่องกัลยา, วรพรรณี เผ่าทองศุข, รุ่งรัตน์ นิลธเสน. การศึกษาความไวต่อยาปฏิชีวนะของเชื้อ

 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม.(ปรสิตวิทยา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
– วท.บ.(สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผลงานวิชาการ :
100%

1. สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ และบังอร ฉางทรัพย์. ความชุกของพยาธิลำไส้ในพนักงานของโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ. มฉก.วิชาการ ปี 2560 เล่มที่ 20 ฉบับที่ 40.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล กาญจนวาศ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล กาญจนวาศ

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด.(อณูชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
– วท.ม.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล
– วท.บ.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผลงานวิชาการ :
100%

1. Suwanan Wanthongcharoen, Wariya Yamprayoonswat, Pattarawan Ruangsuj, Nuttida Nuttida Thongpramul, Watthanachai Jumpathong, Satapanawat Sittihan, Pornpimon Kanjanavas and Montri Yasawong . Draft Genome Sequence of Haloferax volcanii SS0101, Isolated from Salt Farms in Samut Sakhon, Thailand. Microbiology Resource Announcement.

2. รัตนโชค ไชยสอน เกียรติศักดิ์ สมเป้ง ธนพัฒน์ บุณสิริโชคชัย และ พรพิมล กาญจนวาศ. การผลิตกรดอะซิติกร่วมกับการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเปลือกสับปะรด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(2) : 421-424

3. Pornpimon Kanjanavas et al. Change in physicochemical and microbiological quality of salted Sapet-siam fish. International conference on life science and biological engineering (LSBE2016) 22-24 November 2016 Japan.

อาจารย์สุรีย์พร เอี่ยมศรี

อาจารย์สุรีย์พร เอี่ยมศรี

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยบูรพา
– วท.บ. (วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยบูรพา

ผลงานวิชาการ :
100%

1. สุรีย์พร เอี่ยมศรี และ สุพัตรา เมืองฮาม การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตสารยับยั้งแบคทีเรียโดยเชื้อราจากป่าชายเลน วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 29-41

2. นฤมล ปียะเสถียรรัตน์, นิภาพร ธรรมโชติ, สุรีย์พร เอี่ยมศรี.การคัดแยกเชื้อโพรไบโอติกจากสุนัขสำหรับใช้เสริมในขนมบังบิสกิตสุนัข. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

3. จีรนุช วันแสนซื่อ, สิริรัตน์ แสงอ่อน, สุรีย์พร เอี่ยมศรี. การคัดแยกแบคทีเรียโพรไบโอติกจากฟาร์มและโรงฆ่าสุกรที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

อาจารย์ ดร.ชวนพิศ จิระพงษ์

อาจารย์ ดร.ชวนพิศ จิระพงษ์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
– วท.ม.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
– วท.บ.(เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ผลงานวิชาการ :
100%

1. ชวนพิศ จิระพงษ์ ปียนันท์ น้อยรอด อลิษา สุนทรวัฒน์ ปัญจรัตน์ รัตนไพศาลสิน และ สุกัญญา ทิมพิทักษ์. ไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus sp. ในต้นอ่อนกระหล่ำปลีม่วง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(2) : 633-636

2. กัญญา จันทนู, ภัสสร ยืนตระกูล และชวนพิศ จิระพงษ์. การยับยั้งเชื้อ Streptococcus pyogenes โดยใช้แผ่นฟิล์มบริโภคผสมสารสกัดมะรุม. ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ก.ค- ธ.ค.-59.

อาจารย์อลิษา สุนทรวัฒน์

อาจารย์อลิษา สุนทรวัฒน์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :

– วท.ม.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
– วท.บ.(เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ผลงานวิชาการ :
100%

1. ชมพูนุท แสนเสนาะ อลิษา สุนทรวัฒน์ ชวนพิศ จิระพงษ์ การศึกษากระบวนการแปรรูปต่อคุณภาพของชาสมุนไพรกะเพรา ว. วิทย์. กษ. 50(2)(พิเศษ): 289-292(2562)

2. อลิษา สุนทรวัฒน์ ชวนพิศ จิระพงษ์ ทัศนีวรรณ แพงศิริ และ หนึ่งฤทัย โยปัญญา. อิทธิพลของแสงสีต่อการยับยั้งเชื้อรา Fusarium sp.. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(2) : 629-632

อาจารย์ ดร.รุจิราลัย พูลทวี

อาจารย์ ดร.รุจิราลัย พูลทวี

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ด.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– วท.ม.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– วท.บ.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานวิชาการ :
100%

1. Rujiralai Poontawee and Savitree Limtong. Feeding Strategies of Two-Stage Fed-Batch Cultivation Processes for Microbial Lipid Production from Sugarcane Top Hydrolysate and Crude Glycerol by the Oleaginous Red Yeast Rhodosporidiobolus fluvialis. Microorganisms. 8(151): 1-20.

2. ศรภกรฉัตร ปิ่นทอง, สกุลกานต์ ทิพย์โอสถ, สมฤทัย มากเฟื้อง, จำรูญศรี พุ่มเทียน, รุจิราลัย พูลทวี. โยเกิร์ตมะม่วงน้ำดอกไม้เสริมไข่มุกมะม่วงโพรไบโอติก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 1626-1636.

3. Rujiralai Poontawee, Wichien Yongmanitchai, Savitree Limtong. Lipid production from a mixture of sugarcane top hydrolysate and biodiesel-derived crude glycerol by the oleaginous red yeast, Rhodosporidiobolus fluvialis. Process Biochemistry. 66 (2018) 150–161.

4. พรทิพย์ สร้อยสองชั้น, ศุภวดี ศรีเพียรวงศ์, ศุภากร วิภพโสภณ, รุจิราลัย พูลทวี. การหมักน้ำสับปะรดโพรไบโอติกด้วยแบคทีเรียแลกติกในรูปเซลล์อิสระและเซลล์ที่ถูกตรึงโดยวิธีไมโครเอนแคปซูเลชันในแคลเซียมอัลจิเนตและการรอดชีวิตระหว่างเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติครั้งที่ 1 การสร้างสรรค์และนวัตกรรมก้าวสู่ประเทศไทย 4.0 วันที่ 10 พ.ย. 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หน้า 425-433.

5. ปัทมาวรรณ ยินห้อง เพ็ญศรี สุขแสง เรวดี ศิริวัฒน์ และ รุจิราลัย พูลทวี การศึกษาผลของการเติมผงผัก ผลไม้ ว่านหางจระเข้ และเม็ดแมงลัก ต่อการเจริญและการรอดชีวิตของแบคทีเรียในโยเกิร์ต. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 54-66.

6. Rujiralai Poontawee, Wichien Yongmanitchai, Savitree Limtonga. Efficient oleaginous yeasts for lipid production from lignocellulosic degradation on growth and lipid production. Process Biochemistry. 53 (2017) 44–60.

กลุ่มวิชาชีววิทยา

  • อาจารย์ยุคลธร สถาปนศิริ
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์ยุคลธร สถาปนศิริ
  • อาจารย์ปวินทร์ สุวรรณกุล
    คณบดีคณะการแพทย์แผนจีน
    อาจารย์ปวินทร์ สุวรรณกุล
  • อาจารย์ ดร.สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์ ดร.สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ
  • อาจารย์วัลวิภา เสืออุดม
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์วัลวิภา เสืออุดม
อาจารย์ยุคลธร สถาปนศิริ

อาจารย์ยุคลธร สถาปนศิริ

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม.(พันธุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– วท.บ.(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผลงานวิชาการ :
100%

1. ยุคลธร สถาปนศิริ วิภาพรรณ ชนะภักดิ์ วัลวิภา เสืออุดม สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ และ รัมภ์รดา มีบุญญา การสำรวจชนิดของพรรณไม้ในตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 6 No 2 (2020) 32-45

อาจารย์ปวินทร์ สุวรรณกุล

อาจารย์ปวินทร์ สุวรรณกุล

คณบดีคณะการแพทย์แผนจีน

คุณวุฒิ :
%

– MSc. Applied Fish Biology University of Plymouth
– วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการ :
%

อาจารย์ ดร.สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ

อาจารย์ ดร.สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.ม.(เทคโนโลยีชีวภาพ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(เทคโนโลยีชีวภาพ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ผลงานวิชาการ :
100%

1. สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ. Microencapsulation of andrographolide by spray drying using konjac glucomannan hydrolysate as a coating material. In Proceeding of The Third Nordic Baltic Drying Conference. 12 มิถุนายน 2562

2. Sumate Tantratian, Supichar Wattanaprasert, Suttisak Suknaisilp. Effect of partial substitution of milk-non-fat with xanthan gum on encapsulation of a probiotic Lactobacillus. J Food Process Preserv. 2018; 1-7.

3. Supichar Wattanaprasert, Chaleeda Borompichaichartkul, Pilanee Vaithanomsat, George Srzednicki. Konjac glucomannan hydrolysate: A potential natural coating material for bioactive compounds in spray drying encapsulation. Eng. Life Sci. 2016, 00, 1–8.

อาจารย์วัลวิภา เสืออุดม

อาจารย์วัลวิภา เสืออุดม

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
– วท.บ. (สัตววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานวิชาการ :
100%

1. ระพีพันธุ์ ศิริเดช และ วัลวิภา เสืออุดม ฤทธิ์ทางชีวภาพของหมามุ้ย วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 102-109

2. วัลวิภา เสืออุดม, ระพีพันธุ์ ศิริเดช, วิภาพรรณ ชนะภักดิ์ และระพีพร ชนะภักดิ์. ทับทิมผลไม้เพื่อสุขภาพ. ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ก.ค.- ธ.ค.-59.

กลุ่มวิชาสรีรวิทยา

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมตตา โพธิ์กลิ่น
    อาจารย์ประจำ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมตตา โพธิ์กลิ่น
  • อาจารย์รังสิมา ใช้เทียมวงศ์
    อาจารย์ประจำ
    อาจารย์รังสิมา ใช้เทียมวงศ์
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชุ่มบัวทอง
    อาจารย์ประจำ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชุ่มบัวทอง
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จันเพ็ญ บางสำรวจ
    อาจารย์ประจำ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์จันเพ็ญ บางสำรวจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมตตา โพธิ์กลิ่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมตตา โพธิ์กลิ่น

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ม.(สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– กศ.บ.(พยาบาล) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผลงานวิชาการ :
100%

1. เมตตา โพธิ์กลิ่น, จันเพ็ญ บางสารวจ, อัญชลี ชุ่มบัวทอง, ภาสินี สงวนสิทธิ์ และ อมรรัตน์ โตทองหล่อ. ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ เพศ ค่าดัชนีมวลกายและค่าเวลาปฏิกิริยาการตอบสนอต่อแสงและเสียงของอาสาสมัครปกติ. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2562; 28(1): 56-67.

2. อมรรัตนา บุญสวน และเมตตา โพธิ์กลิ่น. ผลของการสูบบุหรี่ต่อความจำและค่าเวลาปฏิกิริยาการตอบสนองต่อแสงและเสียงในอาสาสมัครปกติ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.

อาจารย์รังสิมา ใช้เทียมวงศ์

อาจารย์รังสิมา ใช้เทียมวงศ์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม.(สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– พย.บ.(พยาบาลผดุงครรภ์) มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงานวิชาการ :
%

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชุ่มบัวทอง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชุ่มบัวทอง

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด.(การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบูรพา
– วท.ม.(สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงานวิชาการ :
100%

1. อัญชลี ชุ่มบัวทอง เสรี ชัดแช้ม ปรัชญา แก้วแก่น สิริกรานต์ จันทเปรมจิตต์ อิทธิพลของความแตกต่างระหว่างเพศและบุคลิกภาพที่มีต่อรูปภาพที่เร้าอารมณ์ด้านความตื่นตัวในผู้ใหญ่ตอนต้น วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 4 No 1 (2018) In progress

2. อรุณโรจน์ โลหิตพินทุ พจณิชา อุ่นพันธุ์วาท ธนโชติ ใจบุญ เมตตา โพธิ์กลิ่น และอัญชลี ชุ่มบัวทอง. ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิกต่อความจำและค่าเวลาปฏิกิริยาการตอบสนองต่อแสงและเสียงในอาสาสมัครปกติ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561. ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

3. อัญชลี ชุ่มบัวทอง และ ชษาพิมพ์ สัมมา ดนตรีบำบัด วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 77-87

4. ชัยยา น้อยนารถ, กิตติศักดิ์ จังพานิช, อัญชลี ชุ่มบัวทอง, พัชรา เกรียงไกร, ณัฏฐ์พัชร์ วณิชย์กุล, นุชนาฎ เลี้ยงอำนวย วสันต์ เดือนแจ้ง, กรองทิพย์ เนียมถนอม และพูลพงศ์ สุขสว่าง. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการรับรู้โครงสร้าง มหาวิทยาลัย และความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของอาจารย์ ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้.วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6 (3) : กันยายน – ธันวาคม 2559.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จันเพ็ญ บางสำรวจ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์จันเพ็ญ บางสำรวจ

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม. (สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– พย.บ. (พยาบาล) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานวิชาการ :
%

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ

  • นายธนโชติ ศรีกอก
    เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
    นายธนโชติ ศรีกอก
  • น.ส.วิไล ปาคำทอง
    เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
    น.ส.วิไล ปาคำทอง
  • น.ส.ขวัญใจ นาคพรม
    เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
    น.ส.ขวัญใจ นาคพรม
  • น.ส.ดวงใจ อุ่นคำ
    เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
    น.ส.ดวงใจ อุ่นคำ
  • น.ส.วรุณยุภา ป้องหลง
    เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
    น.ส.วรุณยุภา ป้องหลง
  • น.ส.โสภี บุญทรัพย์
    เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
    น.ส.โสภี บุญทรัพย์
นายธนโชติ ศรีกอก

นายธนโชติ ศรีกอก

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ

คุณวุฒิ :
%

น.ส.วิไล ปาคำทอง

น.ส.วิไล ปาคำทอง

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ

คุณวุฒิ :
%

น.ส.ขวัญใจ นาคพรม

น.ส.ขวัญใจ นาคพรม

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ

คุณวุฒิ :
%

น.ส.ดวงใจ อุ่นคำ

น.ส.ดวงใจ อุ่นคำ

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ

คุณวุฒิ :
%

น.ส.วรุณยุภา ป้องหลง

น.ส.วรุณยุภา ป้องหลง

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ

คุณวุฒิ :
%

น.ส.โสภี บุญทรัพย์

น.ส.โสภี บุญทรัพย์

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ

คุณวุฒิ :
%

2019-08-27

ลิขสิทธิ์ © 2019 Faculty of Science and Technology. สงวนลิขสิทธิ์.