อาจารย์สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

ดร.ศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล

ดร.ศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– Ph.D. (Information Science) Japan Advanced Institute of Science and Technology
– M.S. (Information Science) Japan Advanced Institute of Science and Technology
– วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

 

ผลงานวิชาการ :
%

งานวิจัย

International conference

Sila TEMSIRIRIRKKUL, Naoyuki Sato, Kenta Nakagawa, Kokolo Ikeda, Survey of How Human Players Divert In-game Actions for Other Purposes: Towards Human-like Computer Players, International Conference on Entertainment Computing(ICEC): Entertainment Computing – ICEC 2017, pp 243-256 , 2017-09.

Sila TEMSIRIRIRKKUL, Huu Phuc Luong and Kokolo Ikeda, Production of Emotion-based Behaviors for a Human-like Computer Player, GAMEON’2016, pp.49-53, 2016-09.

 

Japan Domestic conference

高橋一幸,TEMSIRIRIRKKUL Sila,池田心,The Proposal of Rogue-like Research Platform rules and Monte-Carlo tree search agents,22th Game Programming Workshop (GPW-17),2017-11

佐藤直之,TEMSIRIRIRKKUL Sila,Luong Huu Phuc,池田心,Realizing Human-like Avoidance Movement in Shoot’em up Video Games by Graph Search with Influence Map Technique,第21回ゲームプログラミングワークショップ, PP.57-64, 2016-11

 

Thailand Domestic conference

จิรเดช ศรีพรงําม สุธีรํา พึ่งสวัสดิ์* ณัฐพร นันทจิระพงศ์ และ ศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล. (2020). “แพลตฟอร์มการส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือภายในโดยใช้เทคโนโลยี่ Narrowband-Internet of Things (NB-IoT)”. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2563 pp 27 – 37

 

Patent

Patent number 2014-0077982, Nomura Hisamitsu Temsiririrkkul Sila,Ikeda Kokolo, Filled date 2014.04.04 In Japanese.

อาจารย์ยุวธิดา ชิวปรีชา

อาจารย์ยุวธิดา ชิวปรีชา

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม.(วิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยศิลปากร
– วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

 

ผลงานวิชาการ :
%

งานวิจัย

1. ชื่อโครงการวิจัย การส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ สุขภาพและพัฒนากรอบการบริหารจัดการข้อมูลของผู้สูงอายุ ที่โรงพยาบาลส่งเสริมตำบล วัดสลุด อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยยุวชนอาสามหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ (ผู้ร่วมวิจัย, 2564)

2. ชื่อโครงการวิจัย การเชื่อมโยงฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการขอใช้ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ สร้างมูลค่าเพิ่ม ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ (หัวหน้าโครงงานวิจัย, 2562)

3. ชื่อโครงการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อเป็นศูนย์รวมความรู้ปลาสลิดและผลิตภัณฑ์ แปรรูปของพื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการ (ผู้ร่วมวิจัย, 2561)

4. ชื่อโครงการวิจัย เครื่องวัดอัตราการเต้นของหัวใจสำหรับผู้สูงอายุและการวิเคราะห์ผลแบบจำแนกกลุ่ม  (ผู้ร่วมวิจัย, 2558)

บทความวิชาการ

1. NeramitrChirakanphaisarn, ThadsaneeThongkanluang, Yuwathida Chiwpreechar, 2015, HEART RATE MEASUREMENT AND ELECTRICAL PULSE SIGNAL ANALYSIS FOR SUBJECTS SPAN OF 20-80 YEARS, The second International Conference on Digital Information and Communication Technology and its Applications, proceeding, ISBN: 978-1-4799-7422-1, IEEE 2015, pp. 153-158.

2. ChidchanokChoksuchat, SuphaksaNgamphak, BenjapornManeesaeng, Yuwathida Chiwpreechar and ChantanaChantrapornchai, 2014, Parallel Health Tourism Information Extraction and Ontology Storage, 11th International Joint Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE), ISBN: 978-1-4799-5822-1, pp.236-241, IEEE 2014.

3. อภิสิทธิ์ ไทยสมบูรณ์ ยุวธิดา ชิวปรีชา และเปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์. (2564). “การพัฒนาระบบการจัดการซื้อขายออนไลน์”. The 8th Academic Science and Technology Conference 2021 (ASTC2021), 1067-1076.

4. วรพล ฤทธิเดช เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ ยุวธิดา ชิวปรีชา และวรวัฒน์ จันทร์ตัน. “การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้ในองค์กร”. The 8th Academic Science and Technology Conference 2021 (ASTC2021), 1231-1239.

5. ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ นพมาศ อัครจันทโชติ อลิศรา พรายแก้ว ยุวธิดา ชิวปรีชา จำรูญศรี พุ่มเทียน ชัชวาล ช่างทำ และมธุรส อ่อนไทย. (2563). “การเตรียมความพร้อมชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการขอใช้ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทยปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ” วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, ปีที่ 12 ฉบับที่ 4, หน้า 289-306.

6. ณัฐวุฒิ ปัญญากมลกิจ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2562). “เว็บแอปพลิเคชันสังคมการประเมินประสิทธิภาพของผลการปฏิบัติงาน” The 7th Academic Science and Technology Conference 2019 (ASTC2019), 1392-1403.

7. วรนุช ปลีหจินดา เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2562). “การศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ผู้เลี้ยงและบ่อเลี้ยงปลาสลิดของพื้นที่ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ” The 7th Academic Science and Technology Conference 2019 (ASTC2019), 1696-1707.

8. เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ วรนุช ปลีหจินดา และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2562). “การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับผู้จำหน่ายและแปรรูปปลาสลิด” การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7 HCU Conference.

9. ภูมรินทร์ หงส์จร เนรมิธ จิรกาญจน์ไพศาล และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2561). “การพัฒนาเว็บไซต์สำหรับบันทึกปัญหาผลผลิตไม่ได้ตามเป้าหมาย” The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 (ASTC2018), IT-35 – IT-43.

10. เฉลิมชนม์ กรานสกุล เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2561). “ระบบบันทึกและวิเคราะห์พฤติกรรมการเข้าถึงเว็บไซต์” The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 ZASTC2018), IT-328 – IT333

11. เดชอัครฤทธิ์ สุภา ยุวธิดา ชิวปรีชา และสุธีรา พึ่งสวัสดิ์. (2561). “ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการงานบนกลุ่มเมฆ” The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 ZASTC2018), IT-379 – IT386.

12. ปัญกาญจน์ ทรัพย์เจริญ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2560). “เว็บแอปพลิเคชันสังคมอุดมปัญญา PSKC” The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 (ASTC2017), 1140-1146.

13. ณัฐวุฒิ แสงวิชัย เนรมิธจิรกาญจน์ไพศาล และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2560). “เครือข่ายนักสำรวจ” The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 (ASTC2017), 1147-1155.

14. อภิสิทธิ์ ช่างถม และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2560). “ระบบแผนผังสถานะของเครื่องจักร” The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 (ASTC2017), 1156-1164.

15. ศตวรรษ อรุณรัตน์ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2559). “ระบบการบริหารจัดการรับ-ส่งไฟล์โดยใช้โพรโตคอลเอฟทีพี” The 4th Academic Science and Technology Conference 2016 (ASTC2016), 1165-1170.

16. ชยพล โพธิ์ศรี และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2559). “ระบบแจ้งเตือนการหมดอายุการใช้งานของเทป” The 4th Academic Science and Technology Conference 2016 ZASTC2016), 1171-1177.

17. เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์, อานุภาพ วงศ์พลับ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2558). “การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในประเทศไทย” The 3rd Academic Science and Technology Conference 2015 (ASTC2015), 628-650.

ผศ.สุธีรา พึ่งสวัสดิ์

ผศ.สุธีรา พึ่งสวัสดิ์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
– วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงานวิชาการ :
%

งานวิจัย

1. ชื่อโครงการวิจัย : โครงงานวิจัยระบบแนะนำวิธีการแก้ปัญหาเบื้องต้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ (หัวหน้าวิจัย)  ปี 2557
แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

2. ชื่อโครงการวิจัย : การเรียนรู้ร่วมกันแบบสหสาขาวิชาชีพ : การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย บริการด้วยหัวใจ (Interprofessional education : Home visit with service mind) (ผู้ร่วมวิจัย)
แหล่งทุน: มูลนิธิพัฒนาการศึกษาบุคลากรสุขภาพแห่งชาติ ร่วมกับ สำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ระยะเวลา : เดือนตุลาคม 2560 – เดือนมีนาคม 2561

3. ชื่อโครงการวิจัย : การเชื่อมโยงฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการขอใช้ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ สร้างมูลค่าเพิ่ม ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ (ผู้ร่วมวิจัย)
แหล่งทุน :  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
     ระยะเวลา : ระยะเวลา :  30 พฤศจิกายน 2561 – 31 ตุลาคม 2562

วิจัยในชั้นเรียน

1. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  พงศกร  บำรุงไทย . (2557)  การเปรียบเทียบวิธีการเรียนการสอนแบบปกติกับการเรียนการสอนแบบกลุ่ม ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา CS3723 การสื่อสารและเครือข่ายคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
2. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ เนรมิธ  จิรกาญจน์ไพศาล. (2558) การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหัวข้อการติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ภาคทฤษฎี ร่วมกับภาคปฏิบัติโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม Cisco Packet Tracer ที่ในรายวิชา CS3723 การสื่อสารและเครือข่าย  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
3. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ ยุวธิดา ชิวปรีชา. (2558) การปรับพฤติกรรมนักศึกษาเข้าชั้นเรียนไม่ตรงเวลาเรียนในรายวิชา CS3313  โครงสร้างและการประยุกต์ใช้งานเว็บ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
4.สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ พงศกร  บำรุงไทย. (2558) การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหัวข้อ การติดตั้งระบบปฏิบัติการและการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นของคอมพิวเตอร์ ร่วมกับโครงการบริการวิชาการ “คลินิกคอมพิวเตอร์         เคลื่อนที่เพื่อชุมชน”   ในรายวิชา CS3533 ระบบปฏิบัติการ  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
5. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  วรนุช  ปลีหจินดา . (2559)  การพัฒนาพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนไม่ตรงเวลาเรียนในรายวิชา  CS3703 ระบบฐานข้อมูล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
6. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  วรนุช  ปลีหจินดา . (2560)  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้วิธีการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนในรายวิชา CS3703 ระบบจัดการฐานข้อมูล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
7. วรนุช  ปลีหจินดา สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  . (2561)  ศึกษาและเปรียบเทียบการนำโปรแกรม Flowgorithm และโปรแกรมกึ่งเกมมาช่วยแก้ปัญหาการคิดด้านตรรกะของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในรายวิชา CS1353 หลักการทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
8. นฤดี บูรณะจรรยากุล ยุวธิดา ชิวปรีชา วรนุช มีภูมิรู้ ณัฐพร นันทจิระพงศ์ เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ และดร.ศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล. (2563) การหาผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนการสอนรายวิชา CS1001  ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศไทย ในรายวิชา CS1001 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

บทความวิจัย

1. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  พงศกร บำรุงไทย และจุฑาทิพย์ ธัญญะวานิช. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บสำหรับการวินิจฉัยโรคในระบบทางเดินอาหารเบื้องต้น.การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 3 (ASTC2015) 28-29 พฤษภาคม 2558
2. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  พงศกร บำรุงไทย และนฤมล  มีเอี่ยม. ระบบแนะนำการเลือกพันธุ์ยางพาราสำหรับพื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยใช้ตารางการตัดสินใจ. The 11th National Conference on Computer and Information Technology. 2-3 กรกฎาคม 2558
3. Pongwakon Bamrungthai and Suteera Puengsawad. Robust People Counting Using a region-based Approach for a Monocular Vision System. International conference on Science and  Technology 2015, RMUTT
4.สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ พงศกร บำรุงไทย และ ชิดชนก ศรีอรรคจันทร์.โปรแกรมประยุกต์บนเว็บสำหรับการวินิจฉัยเบื้องต้นโรคทางระบบขับถ่ายในสุนัข. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 4  (ASTC2016). 31 พฤษภาคม 2559
5. ไกวัลย์ ขุนล่ำ สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ และ พงศกร บำรุงไทย. ระบบ Bangkok Komatsu Sales iPad Application. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 4 (ASTC2016). 31 พฤษภาคม  2559
6. ดวงกมล บุญส่ง สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ และวรนุช ปลีหจินดา ระบบจัดการการจองสายเรือขาออก.การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC 2017). 25 พฤษภาคม 2560
7. นิรมล พิมสวรรค์ สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ พรพิมล กาญจนวาศ และพงศกร บำรุงไทย.  การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับจำแนกแหล่งกำเนิดพันธุ์ปลาสลิดโดยใช้สัณฐานวิทยา.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. มกราคม – มิถุนายน 2560.
8. Pongwakon Bamrungthai  Suteera Puengsawad and Woranuch Pleehachinda. Arm and Shoulder Exercise Games using Kinect Sensor: Design and Preliminary Test Results. The International Conference on Science and Technology 2017 (TICST 2017), 7 – 8 ธันวาคม  2017, ธัญบุรี ปทุมธานี ประเทศไทย.
9. ธนวัฒน์ รัตนวิชัย  สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ กัญญารัตน์ ศุภฤกษ์ และพงศกร บำรุงไทย. การพัฒนาโปรแกรมบนเว็บเพื่อการจัดหางานสำหรับผู้พิการ. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6  (ASTC 2018). 6 มิถุนายน 2561.
10. เดชอัครฤทธิ์ สุภา  ยุวธิดา ชิวปรีชา และสุธีรา พึ่งสวัสดิ์ และระบบสนับสนุนการบริหารจัดการงานบนกลุ่มเมฆ. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6  (ASTC 2018). 6 มิถุนายน 2561.
11. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ สุภาภรณ์ คงพรหม ธีรวุฒิ พงศ์เศรษฐไพศาล  นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล ศราวุธ สุทธิรัตน์ ภาวดี  ช่วยเจริญ เชาว์นวิทย์ สุทธิวานิช  ศิริพร เกื้อกูลนุรักษ์และใจบุญ แย้มยิ้ม. การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับติดตามอาการผู้ป่วยในโครงการการเรียนรู้ร่วมกันแบบสหสาขาวิชาชีพ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.กรกฎาคม – ธันวาคม 2561.
12. ดวงกมล บุญส่ง สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  ณัฐพร  นันทจิระพงศ์ และ กัญญารัตน์ ศุภฤกษ์. การพัฒนาระบบการจัดเรียงพาเลทขนาดมาตรฐานในตู้สินค้าโดยใช้ Heuristics Algorithm แบบ First-Fit Decreasing Algorithm. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 (ASTC 2019). 7 มิถุนายน 2562.
13. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ และ นฤดี บูรณจรรยากุล.  การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแนะนำการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน พื้นที่ตำบลคลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการ. การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7  (ASTC 2019) 7 มิถุนายน 2562.
14.จิรเดช ศรีพรงาม  สุธีรา  พึ่งสวัสดิ์  ณัฐพร นันทจิระพงศ์  และ ศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล. แพลตฟอร์มการส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ ภายในโดยใช้เทคโนโลยี  Narrowband-Internet of Things (NB-IoT).วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. มกราคม – มิถุนายน 2563.
14. Isaya Janwithayanuchit, Ratchanee Piwpong, Atirat Amnuoypol, Mayuree Kengkate, Sucha Chulsomlee, Sujitra Limsup,Tidaporn Tairattanasuwan, Areena Lertsaenporn,          Suteera Pungsawat ,Woranuch Pleehachinda ,Rattana Timmaung.  Promoting  Interprofessional Education through Home Visit with Service Mind Model. APHEIT  INTERNATIONAL JOURNAL. Vol. 9 No. 1 January – June 2020.
15. สหัสวรรษ รังรงทอง  สุธีรา พึ่งสวัสดิ์    พิมพ์ภัค ภัทรนาวิก  และ ศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล. แอปพลิเคชันบริหารจัดการร้านอาหาร กรณีศึกษาร้านเพลินพอดี. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8  (ASTC 2021) 26 มีนาคม 2564.
16. เจษฎา  พัวประเสริฐ  ธมลวรรณ พิมพา  สุธีรา พึ่งสวัสดิ์  นพมาศ อัครจันทโชติ และ ตติภรณ์ ภัทรานุรักษ์ โยธิน. การพัฒนาระบบการรับหิ้วสินค้าด้วยขั้นตอนวิธีแบบสุ่มบนอุปกรณ์พกพา. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8  (ASTC 2021) 26 มีนาคม 2564.

อาจารย์เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์

อาจารย์เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม.(วิทยาการสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

ผลงานวิชาการ :
%

งานวิจัย

1. ชื่อโครงการวิจัย : การส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ สุขภาพและพัฒนากรอบการบริหารจัดการข้อมูลของผู้สูงอายุ ที่โรงพยาบาลส่งเสริมตำบล วัดสลุด อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยยุวชนอาสามหาวิทยาลัยหัวเฉียว   เฉลิมพระเกียรติ (ผู้ร่วมวิจัย, 2564)

2. ชื่อโครงการวิจัย : การเชื่อมโยงฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการขอใช้ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ สร้างมูลค่าเพิ่ม ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ (ผู้ร่วมวิจัย, 2562)

3. ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อเป็นศูนย์รวมความรู้ปลาสลิดและผลิตภัณฑ์ แปรรูปของพื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการ (ผู้ร่วมวิจัย, 2561)

บทความวิจัย

1. ธนเกียรติ สร้อยทอง เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ และวรนุช มีภูมิรู้. (2564). “การพัฒนาระบบบริหารจัดการฝึกอบรม”. The 8th Academic Science and Technology Conference 2021 (ASTC2021), 1067-1076.

2. อภิสิทธิ์ ไทยสมบูรณ์ ยุวธิดา ชิวปรีชา และเปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์. (2564). “การพัฒนาระบบการจัดการซื้อขายออนไลน์”. The 8th Academic Science and Technology Conference 2021 (ASTC2021), 1067-1076.

3. วรพล ฤทธิเดช เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ ยุวธิดา ชิวปรีชา และวรวัฒน์ จันทร์ตัน. “การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้ในองค์กร”. The 8th Academic Science and Technology Conference 2021 (ASTC2021), 1231-1239.

4. วรนุช ปลีหจินดา เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2562). “การศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ผู้เลี้ยงและบ่อเลี้ยงปลาสลิดของพื้นที่ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ” The 7th Academic Science and Technology Conference 2019 (ASTC2019), 1696-1707.

5. เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ วรนุช ปลีหจินดา และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2562). “การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับผู้จำหน่ายและแปรรูปปลาสลิด” การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7 HCU Conference.

6. นภดล จันกระทึก เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ และวรนุช มีภูมิรู้. (2562). “การพัฒนาระบบบริหารการจัดการซ่อมบำรุงเครื่องจักร”. The 7th Academic Science and Technology Conference 2019 (ASTC2019), 1067-1076.

7. เฉลิมชนม์ กรานสกุล เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2561). “ระบบบันทึกและวิเคราะห์พฤติกรรมการเข้าถึงเว็บไซต์” The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 (ASTC2018), IT-328 – IT333

8. เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์, อานุภาพ วงศ์พลับ และยุวธิดา ชิวปรีชา. (2558). “การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในประเทศไทย” The 3rd Academic Science and Technology Conference 2015 (ASTC2015), 628-650.

อาจารย์นฤดี บูรณะจรรยากุล

อาจารย์นฤดี บูรณะจรรยากุล

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม.(วิทยาการสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– วท.บ.เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง(วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

งานวิจัย :
%

ชื่อโครงการวิจัย ระบบแนะนำวิธีการแก้ปัญหาเบื้องต้นของเครื่องคอมพิวเตอร์
แหล่งทุน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ผู้ร่วมโครงการวิจัย สุธีรา พึ่งสวัสดิ์

ผลงานวิชาการ :
%

1. นาวิน มั่นน้อย นฤดี บูรณะจรรยากุล และศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล. (2564). “ระบบจับคู่ธุรกิจระหว่างผู้บริหารระดับสูง” The 8th Academic Science and Technology Conference 2021 (ASTC2021).
2. นิรชา ด้วงสำรวย นฤดี บูรณะจรรยากุล และณัฐพร นันทจิระพงศ์. (2562). “การพัฒนาระบบตรวจสอบข้อมูลกล่องจีพีเอส” The 7th Academic Science and Technology Conference 2019 (ASTC2019).
3. สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ และนฤดี บูรณะจรรยากุล. (2562). “ระบบสารสนเทศเพื่อการแนะนำการซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียน ในพื้นที่ตำบลคลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการ” The 7th Academic Science and Technology Conference 2019 (ASTC2019).
4. วนัสนันท์ บุญรักษ์ นฤดี บูรณะจรรยากุล และวรนุช ปลีหจินดา. (2561). “ระบบควบคุมกำหนดสิทธิ์การเข้าใช้งานโปรแกรม” The 6th Academic Science and Technology Conference 2018 (ASTC2018).
5. นรากร เกิดปัญญา นฤดี บูรณะจรรยากุล และเปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์. (2560). “ระบบการจัดการบันทึกผลการอบรมพนักงานแรงงานภายนอก” The 5th Academic Science and Technology Conference 2017 (ASTC2017).
6. นิรุชา อาภามงคลรัตน์ และ นฤดี บูรณะจรรยากุล. (2559). “ระบบต่อสัญญาสำหรับการสั่งเช่าเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์” The 4th Academic Science and Technology Conference 2016 (ASTC2016).
7. ปรัชฌานี ศีลภูษิต และ นฤดี บูรณะจรรยากุล. (2559). “ระบบการขอโควตาสำหรับสั่งเช่าเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์” The 4th Academic Science and Technology Conference 2016 (ASTC2016).
8. นฤดี บูรณะจรรยากุล และจารุวรรณ สียากุล. (2558). “โปรแกรมจัดการเอกสารออก : กรณีศึกษา สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” The 3rd Academic Science and Technology Conference 2015 (ASTC2015).

 

 

อาจารย์ณัฐพร นันทจิระพงศ์

อาจารย์ณัฐพร นันทจิระพงศ์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม.(วิทยาการสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– วท.บ. เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเหรียญทอง (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

ผลงานวิชาการ :
%

1.  ณัฐพร นันทจิระพงศ์ สุภา ศิรินาม และรังสรรค์ โกญจนานิกร. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของปลาสลิดแดดเดียวที่ตากด้วยตู้อบแห้ง (Factors that affect the quality of the Trichogaster pectoralis dried fish by the solar dried oven). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม ถึง ธันวาคม : หน้า 72 83. (TCI กลุ่ม 1)
2. ณัฐพร นันทจิระพงศ์ วิรัตน์ ทองรอด และทรงธรรม ประวัติโยธิน. (2560). การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ช่วยประเมินคออักเสบของ HCU บนระบบปฏิบัติการ iOS (Development of HCU Sore Throat Application on iOS). วารสารวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม ถึง มิถุนายน : หน้า 36 44. (TCI กลุ่ม 1)

วิจัยในชั้นเรียน :

1. ณัฐพร นันทจิระพงศ์ (2563). การประยุกต์ใช้ Blend based learning กับกิจกรรมการเสริมสร้างความเข้าใจในเนื้อหาบทเรียนด้วยการวิเคราะห์ข่าวหรือกรณีศึกษารายวิชา CS3102 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
2. ณัฐพร นันทจิระพงศ์ (2563). การเสริมสร้างทักษะปฏิบัติการเชื่อมต่อระหว่าง Arduino MCU กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยซอฟต์แวร์ Autodesk Tinkercad (Arduino Simulator). รายวิชา CS3503 ภาคการศึกษา ที่ 1 ปีการศึกษา 2563 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
3. ณัฐพร นันทจิระพงศ์ (2562). การปรับพฤติกรรมการทบทวนเนื้อหาบทเรียนของนักศึกษาด้วยการจัดทำ Infographics หรือ Visual note. รายวิชา CS3102 จรรยาบรรณทางสังคมและวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ ภาคการศึกษาที่ 1ปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
4. ณัฐพร นันทจิระพงศ์ (2562). การเสริมสร้างทักษะปฏิบัติการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์บน Protoboard อย่างง่ายด้วยซอฟต์แวร์ Circuit wizard. รายวิชา CS3503 คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ภาคการศึกษาที่ 1ปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
5. ณัฐพร นันทจิระพงศ์ (2561).การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาด้วยภาพยนตร์การ์ตูนเคลื่อนไหวเรื่อง “IP Man & คุณประดิษฐ์” รายวิชา CS3102 จรรยาบรรณทางสังคมและวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
6. ณัฐพร นันทจิระพงศ์ (2561). การใช้สื่อการสอน Flute board แสดงผังงานเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจขั้นตอนวิธีการทำงานของระเบียบวิธีเชิงตัวเลข และแก้ปัญหาการส่งงานมอบหมายภาคปฏิบัติการรายวิชา CS2333 Numerical Method ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

บทความวิจัย :

– กันธิชา เสมศรี ณัฐพร นันทจิระพงศ์* วรนุช มีภูมิรู้ และตติภรณ์ ภัทรานุรักษ์โยธิน. (2564). ระบบบริหารจัดการข้อมูลแผนกทรัพยากรบุคคล กรณีศึกษา บริษัทคราทอส จำกัด. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (Proceedings of the 8th Academic Science and Technology Conference 2021: ASTC2021): หน้า 1203 1213 (นำเสนอวันที่ 26 มีนาคม 2564)
-ชรินทร์ วิเศษ* วรนุช มีภูมิรู้ ณัฐพร นันทจิระพงศ์ และประยูรศักดิ์ เปลื้องผล. (2564). การทดสอบอัตโนมัติและการถ่ายโอนไปยังบริการ AWS. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8 (Proceedings of the 8th Academic Science and Technology Conference 2021: ASTC2021): หน้า 1372 1381. (นำเสนอวันที่ 26 มีนาคม 2564)
-อภิสรา มิตรพิทักษ์ และ ณัฐพร นันทจิระพงศ์. (2562). ระบบการสั่งงานด้วยเสียงพูดสำหรับการทดสอบและปรับปรุงคุณภาพซอฟต์แวร์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 (Proceedings of the 7th Academic Science and Technology Conference 2019: ASTC2019): หน้า 1675 1683. (นำเสนอวันที่ 7 มิถุนายน 2562)
– นิรชา ด้วงสำรวย*, นฤดี บูรณะจรรยากุล, และณัฐพร นันทจิระพงศ์. (2562). การพัฒนาระบบตรวจสอบข้อมูลกล่องจีพีเอส. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 (Proceedings of the 7th Academic Science and Technology Conference 2019: ASTC2019): หน้า 1591–1601. (นำเสนอวันที่ 7 มิถุนายน 2562)
– ดวงกมล บุญส่ง, สุธีรา พึ่งสวัสดิ์*, ณัฐพร นันทจิระพงศ์ และกัญญารัตน์ ศุภฤกษ์. (2562). การพัฒนาระบบการจัดเรียงพาเลทขนาดมาตรฐานในตู้สินค้าโดยใช้ Heuristics Algorithm แบบ First-Fit Decreasing Algorithm. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 (Proceedings of the 7th Academic Science and Technology Conference 2019: ASTC2019): หน้า 1345–1354. (นำเสนอวันที่ 7 มิถุนายน 2562)
– หทัยพร หวังเชย และณัฐพร นันทจิระพงศ์. (2561). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการรายงานการดำเนินงานของโรงแรมด้วย Power BI. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคมถึงมิถุนายน (Science Journal 2018): หน้า 69–86. (TCI กลุ่ม 1)

อาจารย์วรนุช มีภูมิรู้

อาจารย์วรนุช มีภูมิรู้

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม.(วิทยาการสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– วท.บ.(วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

ผลงานวิชาการ :
%

1. วรนุช มีภูมิรู้, เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ และ ยุวธิดา ชิวปรีชา. การศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ผู้เลี้ยงและบ่อเลี้ยงปลาสลิดของพื้นที่ตาบลคลองด่าน อาเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 1696 1707

2. วรนุช ปลีหจินดา เกมจำลองกิจกรรมการหยิบลูกบอลเพื่อการฟื้นฟูการเคลื่อนไหวของแขนและมือโดยใช้กล้องตรวจรู้ความลึก.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2 พฤษภาคม 2561. ฉบับที่ 2 หน้าที่ 163-173

3. Pongsakon Bamrungthai, Suteera Puengsawad and Woranuch Pleehachinda The 2ndIEEE International Conference on Science and Technology 7-8 December 2017 Faculty of Science and Technology Rajamangala University of Technology Thanyaburi p262-267

4. นัสนันท์ บุญรักษ์ นฤดี บูรณะจรรยากุล วรนุช ปลีหจินดา. ระบบการบันทึกข้อมูลการขอมีบัญชีผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลการขอพัฒนาโปรแกรม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561. ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

5. พุทธิธรรม ศิวพรเวสารัช และวรนุช ปลีหจินดา. การพัฒนาระบบนำเสนอรายการอาหารด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมบนสมาร์ทโฟน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร

6. โสภา แซ่อึ๊ง วรนุช ปลีหจินดา และสุปัญญา อภิวงศ์โสภณ. (2558). “ระบบสร้างเว็บไซต์” The 3rd Academic Science and Technology Conference 2015 (ASTC2015).

7. อภิวัติ แขกอ้น และวรนุช ปลีหจินดา .(2556). “ระบบนำเสนอข้อมูลสถานที่บนระบบปฏิบัติการ Android” The 1rd Academic Science and Technology Conference 2013 (ASTC2013).

ตำรา:
%

1. วรนุช ปลีหจินดา. (2555). ระบบฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมุทรปราการ: โครงการ สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

 

อาจารย์กลุ่มวิชาคณิตศาตร์

อาจารย์ตติภรณ์ ภัทรานุรักษ์โยธิน

อาจารย์ตติภรณ์ ภัทรานุรักษ์โยธิน

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– ปร.ด. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (กำลังศึกษา)
– วท.ม. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– วท.บ. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ผลงานวิชาการ :
%

งานวิจัย :

1. Tatiporn Pattranulukyothin and Kanchana Kumnungkit. (2012). “Forecasting Model for Para Rubber’s Export Sales”. KMITL Sci.Tech.J Vol.12 No.2 . 198-202 ,2012
2. Kanchana Kumnungkit and Tatiporn Pattranulukyothin . (2018). “To Estimate Cost for a New Swimming Pool in the Characteristic & Limited Area”. The Sixth TKU-KMITL Joint Symposium on Mathematics and Applied Mathematics (MAM2018). Sapporo campus,Tokai University, Japan, 23-24 June 2018

อาจารย์ภัททิตา เลิศจริยพร

อาจารย์ภัททิตา เลิศจริยพร

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม. (คณิตศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ. (คณิตศาสตร์) จุฬลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการ :
%

งานวิจัย

1. สุเมษ เลิศจริยพร ภัททิตา เลิศจริยพร ศักชัย อรุณรัศมีเรือง สุชาติ วัฒกานนท์ และอรรถพล ธรรมไพบูลย์. (2563) การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการไปยังตลาดผู้บริโภคคนไทยและตลาดนักท่องเที่ยวชาวจีนแบบทัวร์

บทความวิจัย

1. สุเมษ เลิศจริยพร ภัททิตา เลิศจริยพร ศักชัย อรุณรัศมีเรือง สุชาติ วัฒกานนท์ และอรรถพล ธรรมไพบูลย์. (2564) การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปลาสลิดไปยังตลาดนักท่องเที่ยวชาวจีนแบบทัวร์.วารสารวิชาการธุรกิจปริทัศน์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 13 (1) มกราคม-มิถุนายน 2564. หน้า 189-208.
2. ภัททิตา เลิศจริยพร และ ณภัทณ์จันทร์ ด่านสวัสดิ์. (2564) รูปแบบทั่วไปของตัวประมาณอัตราส่วนแบบเลขชี้กำลังสำหรับประมาณค่าเฉลี่ยประชากรภายใต้การเลือกตัวอย่างสุ่มอย่างง่าย โดยใช้สารสนเทศจากตัวแปรช่วย. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (2) เมษายน – มิถุนายน 2564. หน้า 1 – 15.
3. ภัททิตา เลิศจริยพร และ ณภัทณ์จันทร์ ด่านสวัสดิ์. (2564) กลุ่มของตัวประมาณอัตราส่วนสำหรับประมาณค่าเฉลี่ยประชากรโดยใช้สารสนเทศจากตัวแปรช่วยในการเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่าย. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (2) เมษายน – มิถุนายน 2564. หน้า 28 – 44.
4. ภัททิตา เลิศจริยพร และ ณภัทณ์จันทร์ ด่านสวัสดิ์. (2564) การพยากรณ์ปริมาณความต้องการพลังงานระยะสั้นในประเทศไทย. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1) มกราคม – มีนาคม 2564. หน้า 48 – 62.

วิจัยในชั้นเรียน

1. ภัททิตา เลิศจริยพร (2564) การเสริมสร้างพัฒนาทักษะด้านความรู้และปัญญาด้วยการถาม ตอบเป็นรายบุคคลและเสริมสร้างพัฒนาทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สำหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในรายวิชา ST2013 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
2. ภัททิตา เลิศจริยพร (2564) การเสริมสร้างพัฒนาทักษะด้านความรู้และปัญญาด้วยการถาม – ตอบเป็นรายบุคคลและเสริมสร้างพัฒนาทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สำหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในรายวิชา ST2053 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
3. ภัททิตา เลิศจริยพร (2562) ฝึกทักษะกระบวนการคิดด้วยการถาม ตอบเป็นรายบุคคล

 

อาจารย์อลิศรา พรายแก้ว

อาจารย์อลิศรา พรายแก้ว

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
– วท.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลงานวิชาการ :
%

วิจัยในชั้นเรียน
1. อลิศรา พรายแก้ว (2550) การปรับพฤติกรรมการไม่ทำแบบฝึกหัด โดยใช้แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในรายวิชา MA1073 คณิตศาสตร์และสถิติ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
2. อลิศรา พรายแก้ว (2555) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรม “ระดมความคิดแบบกลุ่มย่อย” สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในรายวิชา MA1013 แคลคูลัส 1 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
3. อลิศรา พรายแก้ว (2563) พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษารายวิชา MA1013 แคลคูลัส 1 และรายวิชา MA1103 คณิตศาสตร์เบื้องต้น สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
4. อลิศรา พรายแก้ว (2563) พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษารายวิชา CS1403 คณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
5. อลิศรา พรายแก้ว (2564) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเรียนผ่านระบบออนไลน์ของนักศึกษา สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในรายวิชา MA1002 คณิตศาสตร์ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
6. อลิศรา พรายแก้ว (2564) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเรียนผ่านระบบออนไลน์ของนักศึกษา สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในรายวิชา ST2043 สถิติธุรกิจและคณิตศาสตร์เบื้องต้น คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

หนังสือ/ตำรา :
%

1. อลิศรา พรายแก้ว และคณะ (2556) แคลคูลัส 1. สมุทรปราการ : โครงการสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

 

อาจารย์กลุ่มวิชาสถิติ

อาจารย์อุมา รัตนเทพี

อาจารย์อุมา รัตนเทพี

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ม. (สถิติประยุกต์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
– วท.บ. (คณิตศาสตร์ประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ผลงานวิชาการ :
%

ดร.ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์

ดร.ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์

รองอธิการบดี

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด (สถิติ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
– วท.ม.(สถิติประยุกต์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
– วท.บ. (พยาบาล) มหาวิทยาลัยมหิดล

 

ผลงานวิชาการ :
100%

1. ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ นพมาศ อัครจันทโชติ อลิศรา พรายแก้ว ยุวธิดา ชิวปรีชา จำรูญศรี พุ่มเทียน ชัชวาลย์ ช่างทำ มธุรส อ่อนไทย. การเตรียมความพร้อมชุมชนสู่การขับเคลื่อนการใช้ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ฉบับที่ 12 เล่มที่ 4 ปี2562

ดร.นพมาศ อัครจันทโชติ

ดร.นพมาศ อัครจันทโชติ

หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาการคำนวณและเทคโนโลยีดิจิทัล

คุณวุฒิ :
%

– ปร.ด.(การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบูรพา
– สต.ม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.เกียรตินิยมอันดับสอง (สถิติประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

 

ผลงานวิชาการ :
%

1. สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ, ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, บังอร ฉางทรัพย์นพมาศ อัครจันทโชติ พัชรินทร์ บุญแท่น. (2546). การศึกษาพยาธิใบไม้ในลำไส้เป็ดและไก่บ้านจากตลาดสดในเขตอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี. 10(4), 329 – 338.

2. นพมาศ อัครจันทโชติ. (2553). การคัดเลือกคุณลักษณะสำหรับข้อมูลที่มีจำนวนมิติมากในการจำแนกประเภท. วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา. 8(2), 1 – 13.

3. นพมาศ อัครจันทโชติ สุดคนึง ณ ระนอง ผกาทิพย์ สุระบุตร และประเสริฐ ดิษกร. (2555). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการใช้ Facebook ของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 23(3), 98 – 111.

4. นพมาศ อัครจันทโชติ และกิดาการ สายธนู. (2560). การใช้การถดถอยกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วนในกรณีการละเมิดข้อสมมุติของตัวแบบการถดถอย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 3(1), 69 – 75.

5. นพมาศ อัครจันทโชติ ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ พิมพ์ภัค ภัทรนาวิก และอุมา รัตนเทพี. (2561). การจัดกลุ่มธุรกิจร้านยาประเภท ขย. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 10(2), 289 – 306.

6. Nithikathkul, C., Sukthana, Y., Poister, C., Akarachantachote, N., and Wannapinyosheep, S. (2001). Survey on the Prevalence of Oxyuriasis among Primary School Students in Samut Prakan Province. The Journal of Tropical Medicine and Parasitology. 24(2), 49 – 55.

7. Akarachantachote, N., Chadcham, S., and Saithanu, K. (2014). Cutoff threshold of variable importance in projection for variable selection. International Journal of Pure and Applied Mathematics. 94(3), 307 – 322.

8. Akarachantachote, N., Chadcham, S., and Saithanu, K. (2017). Variable importance index based on the partial least squares and boxplot cutoff threshold for variable selection. International Journal Data Analysis Techniques and Strategies. 9(1), 34 – 45.

9. นพมาศ อัครจันทโชติ ดิเรก พนิตสุภากมล. (2562). การเปรียบเทียบวิธีการแก้ปัญหาข้อมูลไม่สมดุลสำหรับการจำแนกกลุ่มรายได้ของผู้ประกอบการร้านยาประเภท ข.ย.1. รายงานสืบเนื่องการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 9 (น.1577-1586). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

10. ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์, นพมาศ อัครจันทโชติ, อลิศรา พรายแก้ว, ยุวธิดา ชิวปรีชา, จำรูญศรี พุ่มเทียน, ชัชวาลย์ ช่างทำ, และ มธุรส อ่อนไทย. (2563). การเตรียมความพร้อมชุมชนเพื่อขับเคลื่อน การขอใช้ตราสัญลักษณะสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 หน้า 289-306

 

 

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

นาย อภิชาติ ไพศาลบริรักษ์

นาย อภิชาติ ไพศาลบริรักษ์

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

คุณวุฒิ :
%

นางสาว จริยา ประณิธาน

นางสาว จริยา ประณิธาน

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

คุณวุฒิ :
%

ว่าที่ ร.ต. เทพสุรีย์ จันสามารถ

ว่าที่ ร.ต. เทพสุรีย์ จันสามารถ

เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

คุณวุฒิ :
%