อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียน

อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียน

คณบดี

คุณวุฒิ :
100%

– วท.ด.(จุลชีววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.ม.(จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(จุลชีววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ผลงานวิชาการ :
100%

1. จำรูญศรี พุ่มเทียน, ปิยาภรณ์ สุภัคดารงกุล, เกษม พลายแก้ว, ยิ่งเจริญ คูสกุลรัตน์, สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ, อุมา รัตนเทพี และ ศิริวรรณ ตันตะวาณิชย์. การสารวจคุณภาพผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียว บางบ่อ สู่การขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการรับใช้สังคม ครั้งที่ 7 วันที่ 12 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หน้า 1219 1228

2. ศรภกรฉัตร ปิ่นทอง, สกุลกานต์ ทิพย์โอสถ, สมฤทัย มากเฟื้อง, จารูญศรี พุ่มเทียน, รุจิราลัย พูลทวี. โยเกิร์ตมะม่วงน้าดอกไม้เสริมไข่มุกมะม่วงโพรไบโอติก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 1626 1636

3. อุไรวรรณ คำเกลี้ยง อัมพา ขุนจัตุรัส หทัยรัตน์ บัณฑิตพิบูล จำรูญศรี พุ่มเทียน. ฟิล์มชีวภาพจากกสารสกัดกระเทียมและสารลดแรงตึง ผิวชีวภาพเพื่อต้านเชื้อราบนผิวมะม่วงน้ำดอกไม้. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 4 No 1 (2018)

4. นัทกาน ศรัทธานุ และ จำรูญศรี พุ่มเทียน การยับยั้งเชื้อราจากอากาศโดยการใช้สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสารลดแรงตึงผิวชีวภาพ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 18-28

5. Tidarat Somruang, Jamroonsri Poomtien, Jiraporn Thaniyavarn. Optimization of Biosurfactant Production from Candida mucifera NJP25. The 28th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and International Conference. 28-30 November 2016

6. สุภาณัฐ ชงัดเวช, อริสา สุดใจ, สุวรรณา เสมศรี และจำรูญศรี พุ่มเทียน. แหล่งคาร์บอนและไนโตรเจนที่เหมาะสมในการ ผลิตเอกโซพอลิแซคคาไรด์จากยีสต์และการทดสอบคุณสมบัติเอกโซพอลิแซคคาไรด์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร..

อาจารย์ ดร.สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา

อาจารย์ ดร.สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา

รองคณบดี

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด.(เคมีประยุกต์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
– วท.ม.(เคมีประยุกต์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
– วท.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

ผลงานวิชาการ :
100%

1. Wonganan O, Tocharus C, Puedsign C, Homvisasevongsa, S, Sukcharoen O, Suksamrarn, A.(2013) Potent vasorelaxant analogs from chemical modification and biotransformation of isosteviol. Eur. J. Med. Chem. 62: 771-776.
2. Yuajit C, Homvisasevongsa, S, Chatsudthipong L, Soodvilai S, Muanprasat C, Chatsudthipong V.(2013) Steviol reduces MDCK Cyst formation and growth by inhibitiong CFTR channel activity and promoting projeasome-mediated CFTR degradation. PLoS ONE 8(3): 1-11.
3. Muanprasat C, Sirianant L, Sawasvirojwong S, Homvisasevonga S, Suksamrarn A, Chatsudthiponga V. (2013) Activation of AMP-activated protein kinase by a plant-derived dihydroisostevil in human intestianl epithelial cell, Biol. Pharm. Bull. 36(4):522-528.
4. Yuajit C, Muanprasat C, Gallagher A-R, Fedeles S V, Kittayarukakul S, Homivsaevongsa S. Somlo S, Chatsudthipong V.(2014) Steviol ratards renal cyst growth through reduction of CFTR expression and inhibition of epithelial cell proliferation in a mouse model of polycystic kidney disase. Biochem. Pharmacol. 88: 412-421.
5. Thussagunpanit J, Jutamanee K, Kaveeta L, Chai-arree W, Pankean P, Homvisasevongsa S, Suksamrarn A. Comparative effect of brassinosteroid and brassinosteroid mimic on improving photosynthesis, lipik peroxidation,and rice seed set under heat stress. Plant Growth Regul. DOI 10.1007/s00344-014-9467-4

อาจารย์ ดร.ชัชวาลย์ ช่างทำ

อาจารย์ ดร.ชัชวาลย์ ช่างทำ

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด.(เคมีประยุกต์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
– วท.ม.(เคมีประยุกต์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
– วท.บ.(เคมี) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ผลงานวิชาการ :
100%

1. Changtam, C., De Koning, H. P., Ibrahim, H., Sajid, S., Gould, M. K., Suksamrarn, A. Curcuminoid analogs with potent activity against Trypanosoma and Leishmania species. Eur. J. Med. Chem. 2010, 45, 941-956
2. Changtam, C., Hogmanee, P., Sukamrarn, A. Isoxazole analogs with hightly potent multi drug-resistant antimycobacteral activity. Eur. J. Med. Chem. 2010, 45, 4446-4457.
3. Tocharus, J., Jamsuwan, S., Tocharus, C., Chongthumakun, S., Changtam, C. Suksamrarn, A. Curcumin analogs nitric oxide production from LPS activated microglial cells. J. Nat. Med. 2012, 66, 400-405.
4. Aroonrerk N., Changtam C., Kirtikara K., Suksamrarn A. Inhibitory effects of di-O-demethylcurcumin on interleukin-1b-induced interleukin-6 production from human gingival fibroblasts. J. Dental Sciences. 2012, 7, 350-358.
5. Chaneiam, N., Chagtam, C., Mungkongdee, T., Suthatvoravut, U., Winichagoon, P., Vadolas, J., Suksamrarn, A., Fucharoen S., Svasti S. A reduced curcuminoid analog as a novel inducer of fetal hemoglobin. Ann.Hematol. 2013, 93(2), 379-386.
6. Somchit, M., Changtam, C., Kimseng, R., Utaipan, T., Lertcanawanichakul, M., Sukamrarn, A., Chunglok, W. Demethoxycurcumin from Curcuma longa Rhizome suppessses iNOS induction in an in vitro inflamed human intestianl Mucosa Model. Asian Pacific Journal of Coancer Prevention, Vol 15, 2014, 1807-1810.
7.  Chuprajob, T., Changtam, C., Chokchaisiri, R., Chunglok, W., Sornkew, N., A., Synthesis, cytotoxicity against human oral cancer KB cells and structure-activity relationship studies of trienone analogues of curcuminoids Bioorganic & Medicinal Chemistry Letters (2014) 24, 2839-2844.
8. ThanachaiTaka, Chatchawan Changtam, Pak Thaichana, Navakoon Kaewtunjai, Apichart Suksamrarn, T.RandallLee, Wirote Tuntiwechapikul. Curcuminoid derivatives enhance telomerase activity in an in vitro TRAP assay. Bioorganic & Medicinal Chemistry Letters, 24(2014) 5242-5246.
9. Decha Pinkaew, Chatchwan Changtam, Chainarong Tocharus, Sirintrhorn  Thummayot, Apichart Suksamran, Jiraporn Tocharus, Di-O-demethylcurcumin protects SK-N-SH cells against mitochondrial And endoplasmic reticulum-mediated apoptotic cell death induced Neurochemistry International (2014); 80, 110-119.
10. Oraya Kruangtip, KrongkarnChootip, Prapapan Temkitthawon, kanokwan Changwichit, Thipphawan Chuprajob, Chatchawan Changtam, Apichart Suksamrarn, Nantaka Khorana, C.Norman Scholfield and Kornkanok Ingkaninan. Curcumin analogues inhibit phosphodiesterase-5 and dilate rat pulmonary arteries, Journal of Pharmacy and Pharmacology, 2015; 67(1): 87-95.
11. Abdulsalam A.M. Alkhaldi, Darren j. Creek, Hasan Ibranhim, Dong-Hyun Kim, Neils B. Quashie, Karl E. Burgess, Chatchawan Changtam, Michael P. Barrett, Apichart Sukamrarn, and Harry P. deKoning. Potent Trypanocidal Curcumin Anologs Bearing a Monoenone Linker Motif Acton Trypanosoma brucei by Forming an Adduct with Trypanothione. Molecular Pharmacology, 87 (2015) 451-46.
12. Bhornprom Yoysungnoen, Parvapan Bhattarakosol, Suthiluk Patumraj, and Chatchawan Changtam. Effects of Tetrahydrocurcumin on Hypoxia-Inducible Factor-1K and Vascular Endothelial Growth Factor Expression in Cervical Cancer Cell-Induced Angiogenesis in Nude Mice. BioMed Research International,(2015). Available online http://dx.doi.org/10.1155/2015/391749

ดร.นพมาศ อัครจันทโชติ

ดร.นพมาศ อัครจันทโชติ

หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาการคำนวณและเทคโนโลยีดิจิทัล

คุณวุฒิ :
%

– ปร.ด.(การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบูรพา
– สต.ม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.เกียรตินิยมอันดับสอง (สถิติประยุกต์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

 

ผลงานวิชาการ :
%

1. สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ, ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, บังอร ฉางทรัพย์นพมาศ อัครจันทโชติ พัชรินทร์ บุญแท่น. (2546). การศึกษาพยาธิใบไม้ในลำไส้เป็ดและไก่บ้านจากตลาดสดในเขตอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี. 10(4), 329 – 338.

2. นพมาศ อัครจันทโชติ. (2553). การคัดเลือกคุณลักษณะสำหรับข้อมูลที่มีจำนวนมิติมากในการจำแนกประเภท. วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา. 8(2), 1 – 13.

3. นพมาศ อัครจันทโชติ สุดคนึง ณ ระนอง ผกาทิพย์ สุระบุตร และประเสริฐ ดิษกร. (2555). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการใช้ Facebook ของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 23(3), 98 – 111.

4. นพมาศ อัครจันทโชติ และกิดาการ สายธนู. (2560). การใช้การถดถอยกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วนในกรณีการละเมิดข้อสมมุติของตัวแบบการถดถอย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 3(1), 69 – 75.

5. นพมาศ อัครจันทโชติ ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ พิมพ์ภัค ภัทรนาวิก และอุมา รัตนเทพี. (2561). การจัดกลุ่มธุรกิจร้านยาประเภท ขย. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 10(2), 289 – 306.

6. Nithikathkul, C., Sukthana, Y., Poister, C., Akarachantachote, N., and Wannapinyosheep, S. (2001). Survey on the Prevalence of Oxyuriasis among Primary School Students in Samut Prakan Province. The Journal of Tropical Medicine and Parasitology. 24(2), 49 – 55.

7. Akarachantachote, N., Chadcham, S., and Saithanu, K. (2014). Cutoff threshold of variable importance in projection for variable selection. International Journal of Pure and Applied Mathematics. 94(3), 307 – 322.

8. Akarachantachote, N., Chadcham, S., and Saithanu, K. (2017). Variable importance index based on the partial least squares and boxplot cutoff threshold for variable selection. International Journal Data Analysis Techniques and Strategies. 9(1), 34 – 45.

9. นพมาศ อัครจันทโชติ ดิเรก พนิตสุภากมล. (2562). การเปรียบเทียบวิธีการแก้ปัญหาข้อมูลไม่สมดุลสำหรับการจำแนกกลุ่มรายได้ของผู้ประกอบการร้านยาประเภท ข.ย.1. รายงานสืบเนื่องการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 9 (น.1577-1586). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

10. ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์, นพมาศ อัครจันทโชติ, อลิศรา พรายแก้ว, ยุวธิดา ชิวปรีชา, จำรูญศรี พุ่มเทียน, ชัชวาลย์ ช่างทำ, และ มธุรส อ่อนไทย. (2563). การเตรียมความพร้อมชุมชนเพื่อขับเคลื่อน การขอใช้ตราสัญลักษณะสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 หน้า 289-306

 

อาจารย์ ดร.สุกัญญา เพชรศิริเวทย์

อาจารย์ ดร.สุกัญญา เพชรศิริเวทย์

รองคณบดี

คุณวุฒิ :
100%

– ปร.ด.(ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยมหิดล
– วท.ม.(ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยมหิดล
– วท.บ.(ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงานวิชาการ :
100%

1. สุกัญญา เพชรศิริเวทย์, และสุกัญญา เหลืองไชยยะ. การเพิ่มความถูกต้องในการแก้สมการทางคณิตศาสตร์ในวิชาฟิสิกส์พื้นฐานของนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, Proceedings การประชุมวิชาการ “วิทยาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 5, มหาวิทยาลัยพะเยา, จังหวัดพะเยา.
2. S.Petchsirivej, T. Srikhirin, S. Bualek-Limcharoen, P. Kasemjit, R. Chantrarachindawong and B. Sutapun (2008) Photo-Induced isomerization of Poly 4′-(6- acryloxy) hexyloxy -4-methoxy azobenzene ultra-thin solid film prepared by Langmuir-Blodgett Techniqe. Current Applied Physics 8(1): 24-30.
3. S.Petchsirivej, T. Srikhirin, D. Triampo, R. Putiworanat, S. Limpanart, T. Osotchan, W. Udomkichdecha. Role of the Cation-Exchange Capacity in the Formation of Polystyrene-Clay Nanocomposites by In Situ Intercaltive Polymerization. Journal of Applied Polymer Science 95:2004:758-789.
4. Rahul Singhal, Asha Chaubey, Toemsak Srikhirin, Sukanya Aphiwantrakul, Shyam S. Pandey, Bansi D. Malhotra. Immobilization of glucose oxidase onto Langmiur-Blodgett films of poly-3-hexylthiophene.Current Applied Physics 3:2003:275-279.

รศ.ดร.บังอร ฉางทรัพย์

รศ.ดร.บังอร ฉางทรัพย์

อาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ :
%

– วท.ด.(การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
– วท.ม.(วิทยาศาสตร์การแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผลงานวิชาการ :
%

1. บังอร ฉางทรัพย์ , สำอาง วณิชชาพลอย และภาสินี สงวนสิทธิ์ (2552, มกราคม-มิถุนายน) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่เรียนโดยวิธีการสอนแบบปกติและวิธีการสอนแบบประยุกต์ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการร่วมกับวิธีแผนที่ความคิด. วารสาร มฉก.วิชาการ. 12(24) : 13-32.
2. บังอร ฉางทรัพย์, ฉัตรปวีณ์ จรัสวราวัฒน์, สมศักดิ์ นัคลาจารย์, ทวีศักดิ์ กลิผล, สำอาง วณิชชาพลอย และภาสินี สงวนสิทธิ์ (2552). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุต่อพฤติกรรมการรักษาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่พักอาศัย ของประชาชนในชุมชมแออัดคลองเตย กรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 40(1) : 53-63.
3. อัญชลี ชุ่มบัวทอง, เมตตา โพธิ์กลิ่น, รังสิมา ใช้เทียมวงศ์, จันทร์เพ็ญ บางสำรวจ และบังอร ฉางทรัพย์ (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา 1 ของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ระหว่างการสอนปกติกับการสอนปกติร่วมกับการทำสรุปย่อและแผนที่ความคิด วารสาร มฉก.วิชาการ 17 (33)ว 50-56.
4. บังอร ฉางทรัพย์, ภาสินี สงวนทรัพย์, อมรรัตน์ โตทองหล่อ, รังสิมา ใช้เทียมวงศ์, อัญชลี ชุ่มบัวทอง, ระพีพันธุ์ ศิริเดช, จันทร์เพ็ญ บางสำรวจ, เมตตา โพธิ์กลิ่น และผุสดี สิรยากร. (2557). ผลการแก้ปัญหาการเรียนวิชาคณิศาสตร์ ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรวิทยาศาตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยกระบวนการสนับสนุนทางสังคม. เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มฉก.
5. บังอร ฉางทรัพย์, ภาสินี สงวนสิทธิ์, สำอาง วณิชชาพลอย, อมรรัตน์ โตทองหล่อ, อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2557). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของนักศึกษาที่เรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ ภายหลังการประยุกต์ใช้เทคนิคเอไอซีในกิจกรรมการเรียนการสอน. เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มฉก.
6. Changsap, B. et al. Egg positive rate of Enterobius vermicularis among children ages birth to 5 years living in khlong Toei Community,Bangkok การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ครั้งที่ 23 พ.ศ.2558
7. Wannapinyosheap et al. Prevalence of parasitic Infections in Manufacturing Industries, Samut Prakarn Province การประชุมนานาชาติเรื่อง Impact of environmental changed for infectious diseases ณ เมือง melia sitges, Bacelona, Spain

นางอริศรา สิทธิพงษ์

นางอริศรา สิทธิพงษ์

เลขานุการประจำคณะฯ