กลุ่มวิชากายวิภาคศาสตร์
-
อาจารย์ระพีพันธุ์ ศิริเดชอาจารย์ประจำ
-
อาจารย์ ดร.อมรรัตน์ โตทองหล่ออาจารย์ประจำ
-
อาจารย์ ภาสินี สงวนสิทธิ์หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
-
รศ.ดร.บังอร ฉางทรัพย์อาจารย์ประจำ
อาจารย์ระพีพันธุ์ ศิริเดช
– วท.ม.(กายวิภาคศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
– วท.บ.(วิทยาศาสตร์การแพทย์) มหาวิทยาลัยนเรศวร
1. ระพีพันธุ์ ศิริเดช, วัลวิภา เสืออุดม, กฤตญาวีร์ มากนุ้ย, กาญจนาวดี บุญกระจาย, รุ่งทิวา จิระเกษมนุกูล และ วรรณภา ฉัตรกระโทก. การศึกษาลักษณะทางพยาธิสภาพและความหนาของผนังหลอดเลือด common carotid, brachial และ femoral จากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 917-924
2. อาภาภัทร โชคดีพงศ์ ศิรินภา ฐานมั่น อารีวรรณ พันศร ระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาปรสิตที่พบในปลานิล อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
3. ณัฐสิมา เชยมาน สุพัตรา แก้ววงษ์ ระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาพยาธิในหอยเชอรี่จากบ่อเลี้ยงปลานิล ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย .รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
4. ระพีพันธุ์ ศิริเดช และ วัลวิภา เสืออุดม ฤทธิ์ทางชีวภาพของหมามุ้ย วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 102-109
5. เกศอนงค์ ฉัตรงามวิจิตร และระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาการปนเปื้อนของพยาธิและแบคทีเรียจากกุ้งฝอย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
6. จิระประภา เอียดแก้ว, อโรชา สุรินทร์ศักดิ์ และระพีพันธุ์ ศิริเดช. การศึกษาพยาธิในหอยน้ำจืดที่เป็นอาหารของคนในอำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ประเทศไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
อาจารย์ ดร.อมรรัตน์ โตทองหล่อ
– วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ. (กายภาพบำบัด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาจารย์ ภาสินี สงวนสิทธิ์
– วท.ม.(วิทยาศาสตร์การแพทย์:กายวิภาคศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(กายภาพบำบัด) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. ภาสินี สงวนสิทธิ์, เกษกนกวรรณ เกสรจรุง, วราภรณ์ ตาแสง, กานดา แน่นหนา และ อภิษฏา นุ้ยเมือง. การศึกษาลักษณะทางจุลกายวิภาคของหลอดเลือด vertebral จากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 925 931
2. อัสมา ตุกังหัน กรรณิการ์ ทิพสมบัติ ภาสินี สงวนสิทธิ์. การศึกษา anterior olfactory nucleus (AON) จากร่างอาจารย์ใหญ่ที่รักษาสภาพด้วยการดองด้วยเทคนิคการย้อม Hematoxilin & Eosin. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
3. ณัฐวดี พระสว่าง ชนิตา สราญชื่น ภาสินี สงวนสิทธิ์. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ำมันถั่วลิสงและไซลีนในการเป็น clearing agent โดยศึกษาในเนื้อเยื่อพื้นฐานจากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 วันที่ 6 มิถุนายน 2561 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
4. นาตาชา ชื่นหทัย, บุณยนุช บุญถึง, ภัณฑิรา บังคม และภาสินี สงวนสิทธิ์. การศึกษาลักษณะทางเนื้อเยื่อวิทยาของกล้ามเนื้อจากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
5. จตุพงศ์ ปิ่นแก้ว, มุกดา ฝายเกษม สุภนิช ศรีทัวนอก และภาสินี สงวนสิทธิ์. การศึกษาเชิงเปรียบเทียบลักษณะเนื้อเยื่อของไขสันหลังจากร่างอาจารย์ใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
รศ.ดร.บังอร ฉางทรัพย์
– วท.ด.(การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
– วท.ม.(วิทยาศาสตร์การแพทย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. บังอร ฉางทรัพย์ , สำอาง วณิชชาพลอย และภาสินี สงวนสิทธิ์ (2552, มกราคม-มิถุนายน) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่เรียนโดยวิธีการสอนแบบปกติและวิธีการสอนแบบประยุกต์ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการร่วมกับวิธีแผนที่ความคิด. วารสาร มฉก.วิชาการ. 12(24) : 13-32.
2. บังอร ฉางทรัพย์, ฉัตรปวีณ์ จรัสวราวัฒน์, สมศักดิ์ นัคลาจารย์, ทวีศักดิ์ กลิผล, สำอาง วณิชชาพลอย และภาสินี สงวนสิทธิ์ (2552). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุต่อพฤติกรรมการรักษาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่พักอาศัย ของประชาชนในชุมชมแออัดคลองเตย กรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 40(1) : 53-63.
3. อัญชลี ชุ่มบัวทอง, เมตตา โพธิ์กลิ่น, รังสิมา ใช้เทียมวงศ์, จันทร์เพ็ญ บางสำรวจ และบังอร ฉางทรัพย์ (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา 1 ของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ระหว่างการสอนปกติกับการสอนปกติร่วมกับการทำสรุปย่อและแผนที่ความคิด วารสาร มฉก.วิชาการ 17 (33)ว 50-56.
4. บังอร ฉางทรัพย์, ภาสินี สงวนทรัพย์, อมรรัตน์ โตทองหล่อ, รังสิมา ใช้เทียมวงศ์, อัญชลี ชุ่มบัวทอง, ระพีพันธุ์ ศิริเดช, จันทร์เพ็ญ บางสำรวจ, เมตตา โพธิ์กลิ่น และผุสดี สิรยากร. (2557). ผลการแก้ปัญหาการเรียนวิชาคณิศาสตร์ ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรวิทยาศาตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยกระบวนการสนับสนุนทางสังคม. เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มฉก.
5. บังอร ฉางทรัพย์, ภาสินี สงวนสิทธิ์, สำอาง วณิชชาพลอย, อมรรัตน์ โตทองหล่อ, อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2557). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของนักศึกษาที่เรียนวิชากายวิภาคศาสตร์ ภายหลังการประยุกต์ใช้เทคนิคเอไอซีในกิจกรรมการเรียนการสอน. เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มฉก.
6. Changsap, B. et al. Egg positive rate of Enterobius vermicularis among children ages birth to 5 years living in khlong Toei Community,Bangkok การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ครั้งที่ 23 พ.ศ.2558
7. Wannapinyosheap et al. Prevalence of parasitic Infections in Manufacturing Industries, Samut Prakarn Province การประชุมนานาชาติเรื่อง Impact of environmental changed for infectious diseases ณ เมือง melia sitges, Bacelona, Spain
กลุ่มวิชาจุลชีววิทยา
-
อาจารย์ ดร.รุจิราลัย พูลทวีอาจารย์ประจำ
-
อาจารย์อลิษา สุนทรวัฒน์อาจารย์ประจำ
-
อาจารย์ ดร.ชวนพิศ จิระพงษ์อาจารย์ประจำ
-
อาจารย์สุรีย์พร เอี่ยมศรีอาจารย์ประจำ
-
ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุลอาจารย์ประจำ
-
อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียนคณบดี
อาจารย์ ดร.รุจิราลัย พูลทวี
– วท.ด.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– วท.ม.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– วท.บ.(จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. Rujiralai Poontawee and Savitree Limtong. Feeding Strategies of Two-Stage Fed-Batch Cultivation Processes for Microbial Lipid Production from Sugarcane Top Hydrolysate and Crude Glycerol by the Oleaginous Red Yeast Rhodosporidiobolus fluvialis. Microorganisms. 8(151): 1-20.
2. ศรภกรฉัตร ปิ่นทอง, สกุลกานต์ ทิพย์โอสถ, สมฤทัย มากเฟื้อง, จำรูญศรี พุ่มเทียน, รุจิราลัย พูลทวี. โยเกิร์ตมะม่วงน้ำดอกไม้เสริมไข่มุกมะม่วงโพรไบโอติก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 1626-1636.
3. Rujiralai Poontawee, Wichien Yongmanitchai, Savitree Limtong. Lipid production from a mixture of sugarcane top hydrolysate and biodiesel-derived crude glycerol by the oleaginous red yeast, Rhodosporidiobolus fluvialis. Process Biochemistry. 66 (2018) 150–161.
4. พรทิพย์ สร้อยสองชั้น, ศุภวดี ศรีเพียรวงศ์, ศุภากร วิภพโสภณ, รุจิราลัย พูลทวี. การหมักน้ำสับปะรดโพรไบโอติกด้วยแบคทีเรียแลกติกในรูปเซลล์อิสระและเซลล์ที่ถูกตรึงโดยวิธีไมโครเอนแคปซูเลชันในแคลเซียมอัลจิเนตและการรอดชีวิตระหว่างเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติครั้งที่ 1 การสร้างสรรค์และนวัตกรรมก้าวสู่ประเทศไทย 4.0 วันที่ 10 พ.ย. 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หน้า 425-433.
5. ปัทมาวรรณ ยินห้อง เพ็ญศรี สุขแสง เรวดี ศิริวัฒน์ และ รุจิราลัย พูลทวี การศึกษาผลของการเติมผงผัก ผลไม้ ว่านหางจระเข้ และเม็ดแมงลัก ต่อการเจริญและการรอดชีวิตของแบคทีเรียในโยเกิร์ต. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 54-66.
6. Rujiralai Poontawee, Wichien Yongmanitchai, Savitree Limtonga. Efficient oleaginous yeasts for lipid production from lignocellulosic degradation on growth and lipid production. Process Biochemistry. 53 (2017) 44–60.
อาจารย์อลิษา สุนทรวัฒน์
คุณวุฒิ :
– วท.ม.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
– วท.บ.(เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
1. ชมพูนุท แสนเสนาะ อลิษา สุนทรวัฒน์ ชวนพิศ จิระพงษ์ การศึกษากระบวนการแปรรูปต่อคุณภาพของชาสมุนไพรกะเพรา ว. วิทย์. กษ. 50(2)(พิเศษ): 289-292(2562)
2. อลิษา สุนทรวัฒน์ ชวนพิศ จิระพงษ์ ทัศนีวรรณ แพงศิริ และ หนึ่งฤทัย โยปัญญา. อิทธิพลของแสงสีต่อการยับยั้งเชื้อรา Fusarium sp.. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(2) : 629-632
อาจารย์ ดร.ชวนพิศ จิระพงษ์
– ปร.ด.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
– วท.ม.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
– วท.บ.(เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1. ชวนพิศ จิระพงษ์ ปียนันท์ น้อยรอด อลิษา สุนทรวัฒน์ ปัญจรัตน์ รัตนไพศาลสิน และ สุกัญญา ทิมพิทักษ์. ไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus sp. ในต้นอ่อนกระหล่ำปลีม่วง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(2) : 633-636
2. กัญญา จันทนู, ภัสสร ยืนตระกูล และชวนพิศ จิระพงษ์. การยับยั้งเชื้อ Streptococcus pyogenes โดยใช้แผ่นฟิล์มบริโภคผสมสารสกัดมะรุม. ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ก.ค- ธ.ค.-59.
อาจารย์สุรีย์พร เอี่ยมศรี
– วท.ม. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยบูรพา
– วท.บ. (วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยบูรพา
1. สุรีย์พร เอี่ยมศรี และ สุพัตรา เมืองฮาม การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตสารยับยั้งแบคทีเรียโดยเชื้อราจากป่าชายเลน วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 29-41
2. นฤมล ปียะเสถียรรัตน์, นิภาพร ธรรมโชติ, สุรีย์พร เอี่ยมศรี.การคัดแยกเชื้อโพรไบโอติกจากสุนัขสำหรับใช้เสริมในขนมบังบิสกิตสุนัข. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
3. จีรนุช วันแสนซื่อ, สิริรัตน์ แสงอ่อน, สุรีย์พร เอี่ยมศรี. การคัดแยกแบคทีเรียโพรไบโอติกจากฟาร์มและโรงฆ่าสุกรที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
ดร.ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล
– ปร.ด.(เภสัชศาสตร์ชีวภาพ) มหาวิทยาลัยมหิดล
– วท.บ.(เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. Supakdamrongkul, P., Bhumiratana, A. and Wiwat, C. 2010. Optimization of extracellular lipase production from the biocontrol fungus Nomuraea rileyi. Biocontrol Science and Technology. 20(6) : 595-604.
2. Supakdamrongkul, P., Bhumiratana, A. and Wiwat, C. 2010. Characterization of an extracellular lipase from the biocontrol fungus, Nomuraea rileyi MJ, and its toxicity toward Spodoptera litura. Journal of Invertebrate Pathology. 105(3): 228-235.
3. Supakdamrongkul, P., Bhumiratana, A. and Wiwat, C. 2012. High efficiency of protoplast formation, regeneration and transient transformation of the biocontrol fungus Nomuraea rileyi MJ. (manuscript in process)
4. Supakdamrongkul, P., Bhumiratana, A. and Wiwat, C. 2012. Cloning, expression and characterization of a cDNA encoding a lipase from the biocontrol fungus Nomuraea rileyi MJ. (manuscript in process)
อ.ดร.จำรูญศรี พุ่มเทียน
– วท.ด.(จุลชีววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.ม.(จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(จุลชีววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. จำรูญศรี พุ่มเทียน, ปิยาภรณ์ สุภัคดารงกุล, เกษม พลายแก้ว, ยิ่งเจริญ คูสกุลรัตน์, สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ, อุมา รัตนเทพี และ ศิริวรรณ ตันตะวาณิชย์. การสารวจคุณภาพผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียว บางบ่อ สู่การขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการรับใช้สังคม ครั้งที่ 7 วันที่ 12 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หน้า 1219 1228
2. ศรภกรฉัตร ปิ่นทอง, สกุลกานต์ ทิพย์โอสถ, สมฤทัย มากเฟื้อง, จารูญศรี พุ่มเทียน, รุจิราลัย พูลทวี. โยเกิร์ตมะม่วงน้าดอกไม้เสริมไข่มุกมะม่วงโพรไบโอติก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต หน้า 1626 1636
3. อุไรวรรณ คำเกลี้ยง อัมพา ขุนจัตุรัส หทัยรัตน์ บัณฑิตพิบูล จำรูญศรี พุ่มเทียน. ฟิล์มชีวภาพจากกสารสกัดกระเทียมและสารลดแรงตึง ผิวชีวภาพเพื่อต้านเชื้อราบนผิวมะม่วงน้ำดอกไม้. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 4 No 1 (2018)
4. นัทกาน ศรัทธานุ และ จำรูญศรี พุ่มเทียน การยับยั้งเชื้อราจากอากาศโดยการใช้สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและสารลดแรงตึงผิวชีวภาพ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 3 No 2 (2017) 18-28
5. Tidarat Somruang, Jamroonsri Poomtien, Jiraporn Thaniyavarn. Optimization of Biosurfactant Production from Candida mucifera NJP25. The 28th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and International Conference. 28-30 November 2016
6. สุภาณัฐ ชงัดเวช, อริสา สุดใจ, สุวรรณา เสมศรี และจำรูญศรี พุ่มเทียน. แหล่งคาร์บอนและไนโตรเจนที่เหมาะสมในการ ผลิตเอกโซพอลิแซคคาไรด์จากยีสต์และการทดสอบคุณสมบัติเอกโซพอลิแซคคาไรด์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 5 (ASTC2017) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร..
กลุ่มวิชาชีววิทยา
อาจารย์ปวินทร์ สุวรรณกุล
– MSc. Applied Fish Biology University of Plymouth
– วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาจารย์ยุคลธร สถาปนศิริ
– วท.ม.(พันธุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
– วท.บ.(ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
1. ยุคลธร สถาปนศิริ วิภาพรรณ ชนะภักดิ์ วัลวิภา เสืออุดม สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ และ รัมภ์รดา มีบุญญา การสำรวจชนิดของพรรณไม้ในตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Vol 6 No 2 (2020) 32-45
กลุ่มวิชาสรีรวิทยา
-
ผศ.ดร.จันเพ็ญ บางสำรวจอาจารย์ประจำ
-
ผศ.ดร.อัญชลี ชุ่มบัวทองอาจารย์ประจำ
-
อาจารย์รังสิมา ใช้เทียมวงศ์อาจารย์ประจำ
ผศ.ดร.จันเพ็ญ บางสำรวจ
– วท.ม. (สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– พย.บ. (พยาบาล) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผศ.ดร.อัญชลี ชุ่มบัวทอง
– ปร.ด.(การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบูรพา
– วท.ม.(สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ.(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานวิจัย
1. อัญชลี ชุ่มบัวทอง. (2552). “ความพึงพอใจในการออกกำลังกายแบบเต้นแอโรบิค” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 18(1) หน้า 123-130.
2. อัญชลี ชุ่มบัวทอง. (2553).”ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 19(6) หน้า 961-970.
3. อัญชลี ชุ่มบัวทอง และคณะ.(2553). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา 1 ของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ที่เรียนโดยวิธีปกติ การทำสรุปย่อและแผนที่ความคิด” มฉก.วิชาการ. 173(33) หน้า 67-80.
4. อัญชลี ชุ่มบัวทอง และคณะ.(2558). “ผลของการออกำลังกายแบบแอโรบิคต่อปฏิกิริยาตอบสนองแลความจำในผู้สูงอายุ” วารสารวิชาการสาธารณสุข.24(2) หน้า 283-295.
บทความทางวิชาการ
1. อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2551). “โรคอัลไซเมอร์มหันตภัยเงียบในวัยชรา” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 176(6) หน้า 1019-1030.
2. อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2552). “วงจรการนอนหลับ” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 18(2) หน้า 94-304.
3. อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2553). “สมุนไพรเพื่อวัยทอง” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 19(1) หน้า 148-158.
4. อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2554). “อยากสูงทำอย่างไร” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 20(2) หน้า 356-365.
5. อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2556). “โรคปลายประสาทคู่ที่ 7 อักเสบหรืออัมพาตใบหน้า” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 22(3) หน้า 547-553.
6. อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2557). “แอลกอร์ฮอล์ : ภัยร้ายทำลายสมอง” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 33(3) หน้า 319-325.
7. 6. อัญชลี ชุ่มบัวทอง.(2558). “ราชินีแห่งสมุนไพรไทย” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 34(2) หน้า 202-209.
อาจารย์รังสิมา ใช้เทียมวงศ์
– วท.ม.(สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– พย.บ.(พยาบาลผดุงครรภ์) มหาวิทยาลัยมหิดล
เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
-
น.ส.โสภี บุญทรัพย์เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
-
น.ส.ดวงใจ อุ่นคำเจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
-
น.ส.ขวัญใจ นาคพรมเจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
-
น.ส.วิไล ปาคำทองเจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
-
นายธนโชติ ศรีกอกเจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการชีวภาพ
น.ส.โสภี บุญทรัพย์
น.ส.ดวงใจ อุ่นคำ
น.ส.ขวัญใจ นาคพรม
น.ส.วิไล ปาคำทอง
นายธนโชติ ศรีกอก